การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเหมืองแร่

การดูแลจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความซับซ้อน และเกี่ยวเนื่องกับปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย  ดังนั้นสิ่งสำคัญที่จะทำให้การดูแลสิ่งแวดล้อมประสบผลสำเร็จได้คือ ความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐในท้องถิ่น (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) ภาคเอกชน (ผู้ประกอบการ)  และประชาชน


รายละเอียดบทความ

การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเหมืองแร่
โดย นัยนา กัลลประวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อม 7 ว.
กลุ่มส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อม
สำนักบริหารสิ่งแวดล้อม

 ในอดีตทีผ่านมา  ความรับผิดชอบในการดูแลจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของรัฐโดยตรงฝ่ายเดียว   ทำให้การจัดการดูแลไม่ทั่วถึงและดีพอ ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว  ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาที่มีขอบเขตกว้างขวางมีความซับซ้อน และเกี่ยวเนื่องกับปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย  ดังนั้นสิ่งสำคัญที่จะทำให้การดูแลสิ่งแวดล้อมประสบผลสำเร็จได้คือ ความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐในท้องถิ่น (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) ภาคเอกชน (ผู้ประกอบการ)  และประชาชนซึ่งเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดและได้รับผลกระทบโดยตรงจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น  โดยทุกฝ่ายจะต้องมีบทบาทและหน้าที่ในการดูแลสิ่งแวดล้อมที่สอดรับประสานในทิศทางเดียวกัน

 

วันที่ปรับปรุง:2550-02-14

เอกสารแนบ: envimanage.doc
 
 

Visitor Number
5298373
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]