การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. พราน
 อำเภอ ขุนหาญ
 จังหวัด ศรีสะเกษ
 เลขที่ประทานบัตร 31804/15388
 ลำดับที่ 2
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาล เมื่อวันที่ 25-26 กรกฎาคม 2550
 รายละเอียด
 

เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 1 สถานี

               บริเวณจุดตรวจวัดห้วยขมิ้น (ห้วยขี้เหล็ก)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 6.60 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย(Total Suspended Solids) เท่ากับ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 58.5มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 20.45 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) มีค่าเท่ากับ 1.91  NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน

·        ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.26 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต มีค่าเท่ากับ 0.4 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

      สรุปได้ว่า คุณภาพน้ำผิวดิน (น้ำจากห้วยขมิ้น) พบว่าดัชนีที่ตรวจพบ เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานมีค่าอยู่ในมาตรฐานกำหนด แต่หากจะนำน้ำมาใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคจะต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน

 

เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 2 สถานี

        ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณประปาบ้านซำขี้เหล็ก ดังนี้

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.78 (ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย ( Suspended Solids) เท่ากับ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 110.5 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 74.99 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) มีค่าน้อยกว่า 0.01 NTU (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่าน้อยกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต มีค่าเท่ากับ 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

 

     ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณประปาบ้านภูฝ้าย ดังนี้

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.02 (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมและอยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย ( Suspended Solids) เท่ากับ 8.5 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 1,180.5 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนดแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 399.98 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนดแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด))

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) มีค่าน้อยกว่า 0.01 NTU (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่าน้อยกว่า 0.04 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต มีค่าเท่ากับ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

 

            สรุปได้ว่า น้ำบาดาลมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนด แต่ถ้าจะต้องใช้น้ำเพื่อการบริโภคควรมีการปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาล ก่อนนำมาบริโภคให้มีค่าอยู่ในมาตรฐานกำหนดสำหรับน้ำบาดาลที่จะใช้บริโภค เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยที่อาจเกิดกับผู้บริโภคได้

 

 หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12(พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ 

 

มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาล

เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม

เกณฑ์อนุโลมสูงสุด

ความเป็นกรด-ด่าง(pH)

7.0 - 8.5

6.5 - 9.2

ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids)

ไม่ได้กำหนด

ไม่ได้กำหนด

ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids)

600 มิลลิกรัมต่อลิตร

1,200 มิลลิกรัมต่อลิตร

ความกระด้างทั้งหมด          (Total Hardness)

 300 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3

500 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3

ค่าความขุ่น (Turbidity)

5 NTU

20 NTU

ปริมาณเหล็กทั้งหมด       (Total Iron)

0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร

1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร

ซัลเฟต (Sulfate)

200 มิลลิกรัมต่อลิตร

250 มิลลิกรัมต่อลิตร

             

                * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ  ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

                * มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12(พ.ศ. 2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์ และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

 

 สถานที่ตรวจวัด 1.ห้วยขมิ้น (ห้วยขี้เหล็ก) 2.ประปาบ้านซำขี้เหล็ก 3.ประปาบ้านภูฝ้าย
 โดย บริษัท พัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ a-t1210229567.jpg
 
 

Visitor Number
5291770
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]