การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. หนองข้างคอก
 อำเภอ เมือง
 จังหวัด ชลบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 21357/15467
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในบรรยากาศ ในปี พ.ศ. 2553
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 20 เมษายน 2553

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน  จำนวน 2 สถานี

  1. บริเวณบ้านสวนน้ำตก (หลังที่อยู่ใกล้สุดด้านทิศตะวันออก) ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้อยู่ในแนวขวาง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.508 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 15 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00608 มิลลิเมตร โดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทาง เท่ากับ 0.619 มิลลิเมตร/วินาทีและแรงอัดอากาศได้ เท่ากับ 109.5 dB(L)   (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  2. บริเวณทางด่วนพิเศษ กรุงเทพ-ชลบุรี  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้อยู่ในแนวตั้ง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.52 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 32 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00750 มิลลิเมตร โดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทาง เท่ากับ 1.52 มิลลิเมตร/วินาทีและแรงอัดอากาศได้ เท่ากับ 120.8 dB(L)   (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)  
  • ในวันที่ 20 สิงหาคม 2553

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน  จำนวน 2 สถานี

  1. บริเวณบ้านสวนน้ำตก (หลังที่อยู่ใกล้สุดด้านทิศตะวันออก) ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถวัดค่าความเร็วอนุภาคทั้ง 3 แนว ในแนวขวาง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.381 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 85 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00214 มิลลิเมตร  แนวตั้ง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.508 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 43 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00180 มิลลิเมตร และแนวยาว ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.381 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 27 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00217 มิลลิเมตรโดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทาง เท่ากับ 0.603 มิลลิเมตร/วินาทีและแรงอัดอากาศได้ เท่ากับ น้อยกว่า 100 dB(L)   (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  2. บริเวณทางด่วนพิเศษ กรุงเทพ-ชลบุรี  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถวัดค่าความเร็วอนุภาคทั้ง 3 แนว ในแนวขวาง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.02 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 14 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0114 มิลลิเมตร  แนวตั้ง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.953 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 32 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00527 มิลลิเมตร และแนวยาว ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.826 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 24 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00769 มิลลิเมตรโดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทาง เท่ากับ 1.21 มิลลิเมตร/วินาทีและแรงอัดอากาศได้ เท่ากับ น้อยกว่า 120dB(L)   (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 

หมายเหตุ : *มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐาน ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมือง(7พฤศจิกายน 2548) ในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจรับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้

 สถานที่ตรวจวัด 1.บ้านสวนน้ำตก (หลังที่อยู่ใกล้สุดด้านทิสตะวันออก)2.ทางด่วนพิเศษ กรุงเทพ-ชลบุรี
 โดย บริษัท เอส.พี.เอส. คอนซัลติ้ง เซอร์วิส จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5284880
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]