การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. หนองข้างคอก
 อำเภอ เมือง
 จังหวัด ชลบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 21361/15591
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ.2551
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 12 เมษายน 2551

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 4 สถานี
 1. บริเวณน้ำบาดาลบ้านมาบหวาย

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) เท่ากับ 7.39 (อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและอยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) น้อยกว่า 10.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดมาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารทั้งหมดที่ละลายได้ (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 747 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่อย่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 493 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 ( ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity)  เท่ากับ 0.46 NTU (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) น้อยกว่า 0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 11  มิลลิกรัมต่อลิตร (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

  2. บริเวณน้ำบ่อตื้นบ้านวังตะโก (ด้านทิศตะวันตก)

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) เท่ากับ 7.11 (อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและอยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) น้อยกว่า 10.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดมาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารทั้งหมดที่ละลายได้ (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 1,781 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและไม่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 1,032 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 ( ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมและไม่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity)  เท่ากับ 0.66 NTU (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron)  เท่ากับ 0.15 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 889  มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ผ่านเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและไม่ผ่านเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

 3. บริเวณบ่อตื้นบ้านวังตะโก (ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้)

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) เท่ากับ  7.81 (อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและอยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) น้อยกว่า 10 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดมาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารทั้งหมดที่ละลายได้ (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 338  มิลลิกรัมต่อลิตร  ( อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและอยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 105 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 ( อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและอยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 0.26 NTU (อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.07 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 24 มิลลิกรัมต่อลิตร ( อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและอยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

 4. บริเวณบ่อตื้นบ้านสวนน้ำตก

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) เท่ากับ  7.62 (อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและอยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) น้อยกว่า 10 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดมาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารทั้งหมดที่ละลายได้ (Total Dissolved Solids) เท่ากับ  228  มิลลิกรัมต่อลิตร (อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและอยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ  83 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO(อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและอยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ  1.4 NTU (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.24  มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 40 มิลลิกรัมต่อลิตร  (อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและอยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

 
สรุปได้ว่า จากการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดินทั้ง 4 สถานี คือ น้ำบาดาลบ้านมาบหวาย, น้ำบ่อตื้นบ้านวังตะโก (ด้านทิศตะวันตก) ,น้ำบาดาลบ้านวังตะโก (ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้) และน้ำบ่อตื้นบ้านสวนน้ำตก พบว่าดัชนีส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนด เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 12 ยกเว้น ปริมาณ Total Dissolved Solids, Sulfate และ Total Hardness ของน้ำบ่อตื้นบ้านวังตะโก (ด้านทิศตะวันตก) ที่มีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานกำหนด (เกณฑ์อนุโลมสูงสุด) แต่อย่างไรก็ตามจากการสอบถามราษฎรบริเวณดังกล่าว พบว่าน้ำบ่อตื้นและน้ำบาดาลของชุมชนทั้ง 4 แห่งบริเวณใกล้เคียงโครงการ ส่วนใหญ่จะใช้เพื่อการอุปโภคเท่านั้น

 

  • ในระหว่างวันที่ 29-30 สิงหาคม 2551

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน  4 สถานี

1. น้ำบาดาลบ้านมาบหวาย

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.59 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.06 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ <10.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 990 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 498 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 13 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.03 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)

 2. น้ำบ่อตื้นบ้านวังตะโก(ด้านทิศตะวันตก)

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.59 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.5 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ <10.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 2,056 mg/l (เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 1,333 mg/l as CaCO3 (เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 1,164 mg/l(เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.12 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)

 3. น้ำบาดาลบ้านวังตะโก(ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้)

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.81(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.4 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ <10.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 372 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 98 mg/l  as CaCO3  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 40 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.20 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)

 4. น้ำบ่อตื้นบ้านสวนน้ำตก

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.21(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.90 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ <10.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 221 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 76 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 50 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.49 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)

 

มายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12          (พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

มาตรฐานคุณภาพ

น้ำบาดาล

เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม

เกณฑ์อนุโลมสูงสุด

ความเป็นกรด-ด่าง(pH)

7.0 - 8.5

 6.5 - 9.2

ปริมาณสารแขวนลอย

(Suspended Solids)

 ไม่ได้กำหนด

 ไม่ได้กำหนด

ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลาย

น้ำ(Total Dissolved Solids)

600 mg/l

1,200 mg/l  

ความกระด้างทั้งหมด

(Total Hardness)

 300 mg/l as CaCO3

500 mg/l as CaCO3

ค่าความขุ่น (Turbidity)

5 NTU

20 NTU

ปริมาณเหล็กทั้งหมด

(Total Iron)

0.5 mg/l

1.0 mg/l

ซัลเฟต (Sulfate)

 200 mg/l

 250 mg/l

              * มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12             (พ.ศ. 2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

 

 

 สถานที่ตรวจวัด 1.น้ำบาดาลบ้านมาบหวาย 2.น้ำบ่อตื้นบ้านวังตะโก(ด้านทิศตะวันตก) 3.น้ำบาดาลบ้านวังตะโก(ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้) 4.น้ำบ่อตื้นบ้านสวนน้ำตก
 โดย บริษัท เอส.พี.เอส. คอนซัลติ้ง เซอร์วิส จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5238013
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]