การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. หนองพลับ
 อำเภอ หัวหิน
 จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์
 เลขที่ประทานบัตร 21261/15628
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในบรรยากาศ ในปี พ.ศ.2553
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 26 มีนาคม 2553

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน  จำนวน 3 สถานี

  1. บริเวณสำนักงานโรงโม่หินศรีศิลาทอง  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง3แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.100 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 15 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.004 มิลลิเมตร ในแนวดิ่ง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.700 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 2 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.002 มิลลิเมตร ในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.250มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 1 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (ค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณวัดห้วยไทรงาม  ผลการตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง ทั้ง2สถานีตรวจวัดนี้ พบว่า ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค มีค่าต่ำกว่า <0.01 มิลลิเมตร/วินาที ส่วนค่าความถี่และค่าการขจัด ไม่สามารถระบุค่าได้ 
  3. บริเวณบ้านราษฎรทางทิศตะวันออก  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง3แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.450 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 3 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ในแนวดิ่ง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.380 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 22 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.170 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 1 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (ค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  • ในวันที่ 4 มิถุนายน 2553

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน  จำนวน 3 สถานี

  1. บริเวณสำนักงานโรงโม่หินศรีศิลาทอง  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง3แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.800 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 1 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.003 มิลลิเมตร ในแนวดิ่ง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.600 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 21 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.002 มิลลิเมตร ในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.250 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 1 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (ค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณวัดห้วยไทรงาม  ผลการตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง ทั้ง2สถานีตรวจวัดนี้ พบว่า ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค มีค่าต่ำกว่า <0.01 มิลลิเมตร/วินาที ส่วนค่าความถี่และค่าการขจัด ไม่สามารถระบุค่าได้ 
  3. บริเวณบ้านราษฎรทางทิศตะวันออก  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง3แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.250 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 32 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ในแนวดิ่ง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.180 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 2 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.170 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 1 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (ค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

 

  • ในวันที่ 17 กันยายน 2553

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน  จำนวน 3 สถานี

  1. บริเวณสำนักงานโรงโม่หินศรีศิลาทอง  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง3แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.770 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 14 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.003 มิลลิเมตร ในแนวดิ่ง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.670 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 2 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.002 มิลลิเมตร ในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.300มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 11 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (ค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณวัดห้วยไทรงาม  ผลการตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง ทั้ง2สถานีตรวจวัดนี้ พบว่า ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค มีค่าต่ำกว่า <0.01 มิลลิเมตร/วินาที ส่วนค่าความถี่และค่าการขจัด ไม่สามารถระบุค่าได้ 
  3. บริเวณบ้านราษฎรทางทิศตะวันออก  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง3แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.300 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 3 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ในแนวดิ่ง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.200 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 21 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.175 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 15 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (ค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  • ในวันที่ 17 ธันวาคม 2553

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน  จำนวน 3 สถานี

  1. บริเวณสำนักงานโรงโม่หินศรีศิลาทอง  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง3แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.550 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 10 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.002 มิลลิเมตร ในแนวดิ่ง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.470 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 25 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.001 มิลลิเมตร ในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.170 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 1 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (ค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณวัดห้วยไทรงาม  ผลการตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง ทั้ง2สถานีตรวจวัดนี้ พบว่า ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค มีค่าต่ำกว่า <0.01 มิลลิเมตร/วินาที ส่วนค่าความถี่และค่าการขจัด ไม่สามารถระบุค่าได้ 
  3. บริเวณบ้านราษฎรทางทิศตะวันออก  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง3แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.250 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 32 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ในแนวดิ่ง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.210 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 13 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.170 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 1 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (ค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

 

หมายเหตุ: *มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมืองหิน(พ.ศ.2548) ในการตรวจวัดกำหนดให้ค่าความเร็วอนุภาค มีค่าต่ำกว่า 0.01 มิลลิเมตรต่อวินาที

 

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณสำนักงานโรงโม่หินศรีศิลาทอง 2.บริเวณวัดห้วยไทรงาม 3.บริเวณบ้านราษฎรทางทิศตะวันออก
 โดย บริษัท เอ บี อี เอ็น เอ็นจิเนียริง คอนซัลแตนท์ จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5287846
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]