การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เทศบาลตำบลเเม่เมาะ
 อำเภอ แม่เมาะ
 จังหวัด ลำปาง
 เลขที่ประทานบัตร 27486/14818
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน น้ำใต้ดิน และน้ำจากระบบบำบัด พ.ศ.2555
 รายละเอียด
 
  • ประจำเดือนมีนาคม 2555

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. ห้วยนา

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 13.17 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 212 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 13 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 140 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.51 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

2. บริเวณสระน้ำ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.82 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 215 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 9 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 180 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.29  mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

3. ห้วยแม่จาง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.4 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.54 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 208 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 3 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 190 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.11 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 4 สถานี
1. น้ำบ่อตื้นบริเวณบ้านแม่จาง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.3(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 7.0-8.5 )
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.90 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 263 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 4 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 230 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 300 mg/l as CaCO3)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.12 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.5 mg/l)

2. บ่อน้ำตื้นบริเวณบ้านสบเติ๋น

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.1(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 7.0-8.5 )
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.70 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 365 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 2 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 300 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 300 mg/l as CaCO3)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.05 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.5 mg/l)

3. บ่อน้ำตื้นบริเวณบ้านสบป้าด

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.3(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 7.0-8.5 )
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.67 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 431 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 3 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 310 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 300 mg/l as CaCO3)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.03 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.5 mg/l))

4. บ่อบาดาลบริเวณบ้านสบเมาะ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.0(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 7.0-8.5 )
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.71 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 383 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 2 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 130 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 300 mg/l as CaCO3)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.03 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.5 mg/l)

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำที่ผ่านระบบบำบัด จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณ South Wetland

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.2 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 5.5-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.13 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 1,221 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 3000 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 7 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 50 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 680 mg/l as CaCO3(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.14 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

2. บริเวณบ่อดักตะกอน1

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ7.3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 5.5-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 6.10 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 372 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 3000 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 27 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 50 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 280 mg/l as CaCO3(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.67 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

3. บริเวณบ่อดักตะกอน 2 

  • ดินจากกิจกรรมทำเหมืองลงมาปิดทับบ่อดักตะกอน 2 จึงไมีมีผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำ

หมายเหตุ: *มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ง จากแหล่งกำเนิดประเภทอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม

-มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

มาตรฐานคุณภาพ

น้ำบาดาล

เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม

เกณฑ์อนุโลมสูงสุด

ความเป็นกรด-ด่าง(pH)

7.0 - 8.5

6.5 - 9.2

ปริมาณสารแขวนลอย

(Suspended Solids)

ไม่ได้กำหนด

ไม่ได้กำหนด

ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลาย

น้ำ(Total Dissolved Solids)

600 mg/l

1,200 mg/l

ความกระด้างทั้งหมด

(Total Hardness)

300 mg/l as CaCO3

500 mg/l as CaCO3

ค่าความขุ่น (Turbidity)

5 NTU

20 NTU

ปริมาณเหล็กทั้งหมด

(Total Iron)

0.5 mg/l

1.0 mg/l

ซัลเฟต (Sulfate)

200 mg/l

250 mg/l

* มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

* มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

 สถานที่ตรวจวัด 1. ห้วยนา 2.บริเวณสระน้ำ 3.ห้วยแม่จาง 4.น้ำบ่อตื้นบริเวณบ้านแม่จาง 5.บ่อน้ำตื้นบริเวณบ้านสบเติ๋น 6.บ่อน้ำตื้นบริเวณบ้านสบป้าด 7.บ่อบาดาลบริเวณบ้านสบเมาะ 8.บริเวณ South Wetland 9.บริเวณบ่อดักตะกอน1 10.บริเวณบ่อดักตะกอน 2
 โดย ฝ่ายสิ่งแวดล้อมโครงการ การไฟฟ้าแห่งประเทศไทย
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5261915
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]