การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เทศบาลตำบลอิสาณ
 อำเภอ เมือง
 จังหวัด บุรีรัมย์
 เลขที่ประทานบัตร 27270/15611
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ.2553
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 7-8 ตุลาคม 2553

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 1 สถานี

 1. บ่อน้ำตื้นในเหมืองหินเพชร

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.8(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 12 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ น้อยกว่า 94.8 mg/l as CaCO (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.064 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 302 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (Total Suspended Solids) เท่ากับ 14.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารทั้งหมด(Total solid) เท่ากับ 338 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 8.5 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน 2 สถานี

 1. น้ำบาดาลวัดไทยเจริญ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 8.3 (ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 7.0-8.5 )
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 1.7 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 82.8 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 300 mg/l as CaCO3)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) ตรวจไม่พบ (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 440 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 600 mg/l )
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอยทั้งหมด(Total Suspended Solids) ตรวจไม่พบ(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารทั้งหมด(Total Solids) เท่ากับ 440 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 47.6 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)

 2. น้ำบาดาลชุมชนบ้านพลวง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.0 (ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 7.0-8.5 )
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 4.2 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 481 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 500 mg/l as CaCO3)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.032 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 730 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 1200 mg/l )
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอยทั้งหมด(Total Suspended Solids) ตรวจไม่พบ(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารทั้งหมด(Total Solids) เท่ากับ 742 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 50.2 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
        * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

 สถานที่ตรวจวัด 1.บ่อน้ำตื้นในเหมืองหินเพชร 2.น้ำบาดาลวัดไทยเจริญ 3.น้ำบาดาลชุมชนบ้านพลวง
 โดย บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5284376
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]