การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. หน้าพระลาน
 อำเภอ เฉลิมพระเกียรติ
 จังหวัด สระบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 28044/14880
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในบรรยากาศ ในระหว่างเดือนมกราคม ถึง มิถุนายน 2551
 รายละเอียด
 

เรื่องผลการตรวจวัดความสั่นสะเทือน  จำนวน 2 สถานี
      1. บริเวณวัดเบญจคีรีนคร
              - วันที่ 21 มกราคม 2551  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.826 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 4 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.0180 มิลลิเมตร  ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.508 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 4 เฮิตรซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00837 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.318 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 7 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00016 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.762 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 85 เฮิตรซ์ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.00167 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.14 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00161 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.635 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00062 มิลลิเมตร (ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 19 มีนาคม 2551 ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 17.3 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ เท่ากับ 17 เฮิตรซ์ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.269 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 24.4 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 12 เฮิตรซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.285 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 42.7 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 12 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 1.73 มิลลิเมตร (ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 29 เมษายน 2551 ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 4.64 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ เท่ากับ 57 เฮิตรซ์ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.0246 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.953 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 57 เฮิตรซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00217 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 4.64 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 57 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0467 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 15 พฤษภาคม 2551ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ16.3 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ เท่ากับ 17.0 เฮิตรซ์ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.0878 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 8364 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00794 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 26.4 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 3.0 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.215 มิลลิเมตร (ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 24 มิถุนายน 2551 ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.699 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.00124 มิลลิเมตร ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.46 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00087 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.699 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 51 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00220 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
         2. บริเวณวัดคีรีวงศ์
               - วันที่ 22 มกราคม 2551  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 14.2 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 64 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.0688 มิลลิเมตร  ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 3.81 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 47 เฮิตรซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00856 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 25.4 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 19 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.200 มิลลิเมตร (ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.02 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ เท่ากับ 82.4 เฮิตรซ์ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.00651 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.127 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 25 เฮิตรซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 2.22 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 20 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0156 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 18 มีนาคม 2551 ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 67.1 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ เท่ากับ 37 เฮิตรซ์ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.949 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 50.8 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 57 เฮิตรซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.492 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 103 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 57 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 2.26 มิลลิเมตร (ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 29 เมษายน 2551 ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.91 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ เท่ากับ 73 เฮิตรซ์ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.00415 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.46 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00208 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.21 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 85 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00245 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 15 พฤษภาคม 2551ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.381 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.00031 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.254 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00012 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.318 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00034 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 24 มิถุนายน 2551 ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 4.15 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.00518 มิลลิเมตร ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 3.43 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00260 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.52 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 64 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.109 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
      3. บริเวณวัดนิคมเทพประทาน
            - วันที่ 21 มกราคม 2551  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.318 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 64 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00056 มิลลิเมตร  ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.254 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00016 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.318 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 73 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00059 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 2.79 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.00347 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 5.33 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 201 เฮิตรซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00415 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 8.64 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0193 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 19 มีนาคม 2551 ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 73.2 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ เท่ากับ 2 เฮิตรซ์ ค่าการขจัด เท่ากับ 6.25 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 121 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 2 เฮิตรซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 10.7 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 129 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ และค่าการขจัด เท่ากับ 16.5 มิลลิเมตร (ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 29 เมษายน 2551 ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 4.64 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ เท่ากับ 57 เฮิตรซ์ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.0246 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.953 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 57 เฮิตรซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00217 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 4.64 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 57 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0467 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 15 พฤษภาคม 2551ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 9.65 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ เท่ากับ 73 เฮิตรซ์ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.0748 มิลลิเมตร/วินาที ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 15.2 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.0179 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 12.4 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 4 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0927 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
              - วันที่ 24 มิถุนายน 2551 ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แกนแนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 3.05 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่ เท่ากับ 64 เฮิตรซ์ ค่าการขจัด เท่ากับ 0.00825 มิลลิเมตร ในแกนแนวดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 5.40 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00415 มิลลิเมตร ส่วนในแกนแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 7.37 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 57 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0526 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

 

หมายเหตุ: *ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ.2548) เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมืองหินในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจรับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้


   
    

 สถานที่ตรวจวัด 1.วัดเบญจคีรีนคร 2.วัดคีรีวงศ์ 3.วัดนิคมเทพประทาน
 โดย บริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5293163
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]