การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. เทศบาลตำบลบ้านมุง
 อำเภอ เนินมะปราง
 จังหวัด พิษณุโลก
 เลขที่ประทานบัตร 30720/15159
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในบรรยากาศ ในปี พ.ศ.2553
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 21-22 พฤษภาคม 2553 

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 4 สถานี

  1. บริเวณโรงโม่ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง 3 แนว ในแนวขวางซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.650  มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 15 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.010 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 1.000 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 1 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.008 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.350 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 5 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณบ้านหนองขาหยั่ง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง 3 แนว ในแนวขวางซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.420 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 2 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.003 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.400 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 2 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.003 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.180 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 21 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  3. บริเวณวัดบ้านใหม่สามัคคี  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  4. บริเวณโรงเรียนวัดบ้านมุง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254     มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

 

  • ในวันที่ 4-5 พฤศจิกายน 2553 

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 4 สถานี

  1. บริเวณโรงโม่ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง 3 แนว ในแนวขวางซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.150 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 1 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.008 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.900 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 12 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.006 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.300 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 23 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณบ้านหนองขาหยั่ง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง 3 แนว ในแนวขวางซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.400 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 13 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.002 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.370 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 22 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.002 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.170 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 2 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  3. บริเวณวัดบ้านใหม่สามัคคี  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  4. บริเวณโรงเรียนวัดบ้านมุง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254     มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)                     

หมายเหตุ :*มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐาน ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมือง(7พฤศจิกายน 2548) ในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจรับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้

ข. มาตรฐานความสั่นสะเทือนจากการทำเหมืองหิน

ความถี่
(เฮิร์ตซ์)
ความเร็วของอนุภาค
(มิลลิเมตรต่อวินาที)
การขจัด
(มิลลิเมตร)
1 ไม่เกิน 4.7 ไม่เกิน 0.75
2 ไม่เกิน 9.4 ไม่เกิน 0.75
3 ไม่เกิน 12.7 ไม่เกิน 0.67
4 ไม่เกิน 12.7 ไม่เกิน 0.51
5 ไม่เกิน 12.7 ไม่เกิน 0.40
6 ไม่เกิน 12.7 ไม่เกิน 0.34
7 ไม่เกิน 12.7 ไม่เกิน 0.29
8 ไม่เกิน 12.7 ไม่เกิน 0.25
9 ไม่เกิน 12.7 ไม่เกิน 0.23
10 ไม่เกิน 12.7 ไม่เกิน 0.20
11 ไม่เกิน 13.8 ไม่เกิน 0.20
12 ไม่เกิน 15.1 ไม่เกิน 0.20
13 ไม่เกิน 16.3 ไม่เกิน 0.20
14 ไม่เกิน 17.6 ไม่เกิน 0.20
15 ไม่เกิน 18.8 ไม่เกิน 0.20
16 ไม่เกิน 20.1 ไม่เกิน 0.20
17 ไม่เกิน 21.4 ไม่เกิน 0.20
18 ไม่เกิน 22.6 ไม่เกิน 0.20
19 ไม่เกิน 23.9 ไม่เกิน 0.20
20 ไม่เกิน 25.1 ไม่เกิน 0.20
21 ไม่เกิน 26.4 ไม่เกิน 0.20
22 ไม่เกิน 27.6 ไม่เกิน 0.20
23 ไม่เกิน 28.9 ไม่เกิน 0.20
24 ไม่เกิน 30.2 ไม่เกิน 0.20
25 ไม่เกิน 31.4 ไม่เกิน 0.20
26 ไม่เกิน 32.7 ไม่เกิน 0.20
27 ไม่เกิน 33.9 ไม่เกิน 0.20
28 ไม่เกิน 35.2 ไม่เกิน 0.20
29 ไม่เกิน 36.4 ไม่เกิน 0.20
30 ไม่เกิน 37.7 ไม่เกิน 0.20
31 ไม่เกิน 39.0 ไม่เกิน 0.20
32 ไม่เกิน 40.2 ไม่เกิน 0.20
33 ไม่เกิน 41.5 ไม่เกิน 0.20
34 ไม่เกิน 42.7 ไม่เกิน 0.20
35 ไม่เกิน 44.0 ไม่เกิน 0.20
36 ไม่เกิน 45.2 ไม่เกิน 0.20
37 ไม่เกิน 46.5 ไม่เกิน 0.20
38 ไม่เกิน 47.8 ไม่เกิน 0.20
39 ไม่เกิน 49.0 ไม่เกิน 0.20
40 ไม่เกิน 50.8 ไม่เกิน 0.20

 สถานที่ตรวจวัด 1.โรงโม่ 2.บริเวณบ้านหนองขาหยั่ง 3.บริเวณวัดบ้านใหม่สามัคคี 4.บริเวณโรงเรียนวัดบ้านมุง
 โดย ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนมจันทร์
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5287445
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]