การปรับปรุง และดูแลพื้นที่เหมืองแร่

     การทำเหมืองแร่เป็นสิ่งที่มีประโยชน์และมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ โดยนำเอาแร่ที่มีคุณค่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์  เช่น  แร่ตะกั่ว  สังกะสี  ดีบุก  รัตนชาติ  หินปูน


รายละเอียดบทความ

     การทำเหมืองแร่เป็นสิ่งที่มีประโยชน์และมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ โดยนำเอาแร่ที่มีคุณค่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์  เช่น  แร่ตะกั่ว  สังกะสี  ดีบุก  รัตนชาติ  หินปูน  ซึ่งภายหลังการนำแร่ออกไปแล้วพื้นที่จะมีสภาพที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้  ดังนั้นการปรับปรุงพื้นที่เหมืองแร่จะช่วยสร้างระบบนิเวศน์ขึ้นใหม่ และทำให้สภาพพื้นที่กลับคืนเข้าสู่ธรรมชาติหรือเข้าสู่สภาพใกล้เคียงสภาพเดิม การปรับปรุงและดูแลพื้นที่เหมืองแร่มีวัตถุประสงค์เพื่อนำพื้นที่ที่มีการทำเหมืองแร่มาพัฒนาให้อยู่ในสภาพที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งคืนสภาพธรรมชาติให้กับพื้นที่ตามความเหมาะสม พร้อมทั้งช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการ อาทิ (ดังเอกสารเเนบ)

 

 

วันที่ปรับปรุง:2554-05-26

เอกสารแนบ: การปรับปรุงและดูแลพื้นที่เหมืองแร่
 
 

Visitor Number
5234789
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]