การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. เทศบาลตำบลทับไทร
 อำเภอ โป่งน้ำร้อน
 จังหวัด จันทบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 26305/15192
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในบรรยากาศ ในปี พ.ศ.2550
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 20 มีนาคม 2550

เรื่องผลการตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือน  จำนวน 3 สถานี

  1. บริเวณจุดตรวจวัดโรงโม่หินบริษัท สหศิลาแก้ว จำกัด   ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง3แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.127 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 13 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.0071 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.397 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 15 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00478 มิลลิเมตรในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.238 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 21 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00356 มิลลิเมตร ค่าความเร็วอนุภาคเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทาง เท่ากับ 0.429 มิลลิเมตร/วินาที(อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณจุดตรวจวัดชุมชนบ้านทุ่งกร่าง  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง3แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.381 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 39 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00130 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.435 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 43 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00139 มิลลิเมตรในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.381 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 35 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00127 มิลลิเมตร ค่าความเร็วอนุภาคเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทาง เท่ากับ 0.460 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  3. บริเวณจุดตรวจวัดชุมชนบ้านพังงอน  ผลการตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค มีค่าต่ำกว่า <0.254 มิลลิเมตร/วินาที ส่วนค่าความถี่และค่าการขจัด ไม่สามารถระบุค่าได้


หมายเหตุ : *มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐาน ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมือง (7 พฤศจิกายน 2548) ในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจรับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้

  • ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2550

เรื่องผลการตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือน  จำนวน 3 สถานี

  1. บริเวณจุดตรวจวัดโรงโม่หินบริษัท สหศิลาแก้ว จำกัด   ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง3แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 1.33 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 7.7 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.0022 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.826 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 8.1 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.0015 มิลลิเมตรในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 1.71 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 7.6 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.0026 มิลลิเมตร  (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณจุดตรวจวัดชุมชนบ้านทุ่งกร่าง ผลการตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค มีค่าต่ำกว่า <0.254 มิลลิเมตร/วินาที ส่วนค่าความถี่และค่าการขจัด ไม่สามารถระบุค่าได้
  3. บริเวณจุดตรวจวัดชุมชนบ้านพังงอน  ผลการตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค มีค่าต่ำกว่า <0.254 มิลลิเมตร/วินาที ส่วนค่าความถี่และค่าการขจัด ไม่สามารถระบุค่าได้

หมายเหตุ : *มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐาน ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมือง (7 พฤศจิกายน 2548) ในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจรับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้

 สถานที่ตรวจวัด 1.โรงโม่หินบริษัท สหศิลาแก้ว จำกัด 2.ชุมชนบ้านทุ่งกร่าง 3.ชุมชนบ้านพังงอน
 โดย บริษัท เอส.พี.เอส. คอนซัลติ้ง เซอร์วิส จำกัด และบริษัท เอ บี อี เอ็น เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด และ บริษัท จี อี ซี คอนซัลแตนท์ จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5286725
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]