การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. บ่อพลอย
 อำเภอ บ่อพลอย
 จังหวัด กาญจนบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 26883/15136
 ลำดับที่ 56
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในบรรยากาศ ในปี พ.ศ. 2556
 รายละเอียด
 
  • วันที่ 18-19 พฤษภาคม 2556

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 2 สถานี

จากการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมืองของโครงการ ทั้งหมด 2 สถานี พบว่า

1. บริเวณโรงเรียนบ้านปะอำ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.143 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ 79 เฮิรตซ์ (Hz) ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00084 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.143 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ 102 เฮิรตซ์ (Hz)และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00086 มิลลิเมตร ส่วนในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.206 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ 17.8 เฮิรตซ์ (Hz)และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.00172 มิลลิเมตร ค่าความเร็วอนุภาคเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทางเท่ากับ 0.227 มิลลิเมตร/วินาที แรงอัดอากาศ 91.5 dB(L)(อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

2. บริเวณโรงโม่หินของโครงการ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.84 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ 59 เฮิรตซ์ (Hz) ค่าการขจัดเท่ากับ 0.0105 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.67 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ 45 เฮิรตซ์ (Hz)และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00793 มิลลิเมตร ส่วนในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 2.41 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ 50 เฮิรตซ์ (Hz)และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.00887 มิลลิเมตร ค่าความเร็วอนุภาคเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทางเท่ากับ 3.00 มิลลิเมตร/วินาที แรงอัดอากาศ 115.7 dB(L)(อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

  • วันที่ 29-30 ธันวาคม 2556
  • เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 2 สถานี

จากการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมืองของโครงการ ทั้งหมด 2 สถานี พบว่า

 

1. บริเวณโรงเรียนบ้านปะอำ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.683 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ 17.1 เฮิรตซ์ (Hz) ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00655 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.810 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ 18.6 เฮิรตซ์ (Hz)และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00654 มิลลิเมตร ส่วนในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.44 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ หาค่าไม่ได้ และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.0349 มิลลิเมตร ค่าความเร็วอนุภาคเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทางเท่ากับ 0.861มิลลิเมตร/วินาที แรงอัดอากาศ 106.5 dB(L)(อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

2. บริเวณโรงโม่หินของโครงการ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.825 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ 9.9 เฮิรตซ์ (Hz) ค่าการขจัดเท่ากับ 0.0147 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.571 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ 31.5 เฮิรตซ์ (Hz)และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00562 มิลลิเมตร ส่วนในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.13 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ 14.6 เฮิรตซ์ (Hz)และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.0118 มิลลิเมตร ค่าความเร็วอนุภาคเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทางเท่ากับ 1.17 มิลลิเมตร/วินาที แรงอัดอากาศ 110.6 dB(L)(อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

 

 

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณโรงเรียนบ้านประอำ 2. บริเวณโรงโม่หินของโครงการ
 โดย บริษัท ทอพ-คลาส คอนซัลแทนท์ จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5284716
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]