การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. เทศบาลตำบลแม่กา
 อำเภอ เมือง
 จังหวัด พะเยา
 เลขที่ประทานบัตร 31109/15395
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในบรรยากาศ ในปี พ.ศ.2553
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 4-5 มกราคม 2553 

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 5 สถานี

  1. บริเวณวัดพระธาตุดอยน้อย  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง  ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.0323  มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 33 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00002 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.114 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 42 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00077 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.0517 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 37 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร ซึ่งเครื่องมือสามารถตรวจจับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณวัดร่องขุย  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254     มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  3. บริเวณวัดแม่กาหลวง  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง  ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.0500  มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 11 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.174 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 17 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00036 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.0500 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 37 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร ซึ่งเครื่องมือสามารถตรวจจับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  4. บริเวณสถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์พะเยา  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง  ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.053 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 42 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.214 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 30 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00114 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.0677 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 47 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร ซึ่งเครื่องมือสามารถตรวจจับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  5. บริเวณพระธาตุแจ้โว้  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254     มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

 

  • ในวันที่ 18-19 เมษายน 2553 

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 5 สถานี

  1. บริเวณวัดพระธาตุดอยน้อย  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง  ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.0122  มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 14 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.000021 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.245 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 50 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0004 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.0348 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 26 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00002 มิลลิเมตร ซึ่งเครื่องมือสามารถตรวจจับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณวัดร่องขุย  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง  ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.0144  มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 7 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.000014 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.566มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 12 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0008 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.0780 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 3 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00001 มิลลิเมตร ซึ่งเครื่องมือสามารถตรวจจับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  3. บริเวณวัดแม่กาหลวง  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง  ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.070  มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 23 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00002 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.342 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 43 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0003 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.034 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 25 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00002 มิลลิเมตร ซึ่งเครื่องมือสามารถตรวจจับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  4. บริเวณสถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์พะเยา  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง  ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.076 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 65 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00006 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.566 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 43 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0005 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.0432 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 37 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร ซึ่งเครื่องมือสามารถตรวจจับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  5. บริเวณพระธาตุแจ้โว้  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง  ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.023  มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 3 เฮิร์ตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00001 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.177 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 12 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0001 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.0233 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 4 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร ซึ่งเครื่องมือสามารถตรวจจับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

                                 

หมายเหตุ :*มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐาน ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมือง(7พฤศจิกายน 2548) ในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจรับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้

 สถานที่ตรวจวัด 1.วัดพระธาตุดอยน้อย 2.วัดร่องขุย 3.วัดแม่กาหลวง 4.สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์พะเยา 5.พระธาตุแจ้โว้
 โดย ห้างหุ้นส่วนจำกัด โอริสวิศวกรรม
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5829200
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]