การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. เทศบาลตำบลวังตะเคียน
 อำเภอ หนองมะโมง
 จังหวัด ชัยนาท
 เลขที่ประทานบัตร 24546/15984
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน ในปี พ.ศ.2558
 รายละเอียด
 ครั้งที่1ในวันที่ 21 เมษายน 2558

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 2 สถานี

1. บริเวณบ้านภิรมย์สุข (บ้านพักคนงานทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ)ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง เท่ากับ 1.05 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 57 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00105 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.968 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 51 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00109 มิลลิเมตร และในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.37 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 47 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00132 มิลลิเมตร

2. บริเวณบ้านคลองตะขาบ(กลุ่มบ้านเขาขาดทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้)ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง เท่ากับ 0.317 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 9.5 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00817 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.302 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 9.0 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00471 มิลลิเมตร และในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.651 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 9.8 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00839 มิลลิเมตร

หมายเหตุ : *=มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2548 เรื่องกำหนดกำหนดมาตรฐานควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมืองหิน

ครั้งที่2ในวันที่ 19 ธันวาคม 2558

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 2 สถานี

1. บริเวณบ้านภิรมย์สุข (บ้านพักคนงานทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ)ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง เท่ากับ 0.190 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 64 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00042 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.381 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่  >100 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00065 มิลลิเมตร และในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.222 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่  >100 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00022 มิลลิเมตร

2. บริเวณบ้านคลองตะขาบ(กลุ่มบ้านเขาขาดทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้)ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง  พบว่า ไม่สามารถตรวจวัดความสั่นสะเทือน เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค ค่าความถี่และค่าการขจัด ไม่สามารถระบุค่าได้

หมายเหตุ : *=มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2548 เรื่องกำหนดกำหนดมาตรฐานควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมืองหิน

 สถานที่ตรวจวัด 1. บริเวณบ้านภิรมย์สุข 2. บริเวณบ้านคลองตะขาบ
 โดย บริษัท เอ็นวาย เทคนิคอล เซอร์วิส จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5831176
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]