การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. โคกเคียน
 อำเภอ เมือง
 จังหวัด นราธิวาส
 เลขที่ประทานบัตร 31640/15660
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในบรรยากาศ ในปี พ.ศ.2553
 รายละเอียด
 
  • ในระหว่างวันที่ 17 เมษายน 2553

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน  จำนวน 2 สถานี

  1. บริเวณบ้านบูเกะยามู   ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวแกนขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.455 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 11 เฮิรตซ์และค่าการขจัดเท่ากับ 0.001 มิลลิเมตร ในแนวแกนดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.400 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 3 เฮิรตซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.001 มิลลิเมตร ส่วนในแนวแกนยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.170 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ ไม่สามารถหาค่าได้และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณบ้านบาเซปูเตะ   ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวแกนขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.200 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 15 เฮิรตซ์ค่าการขจัดเท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ในแนวแกนดิ่งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.175 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 5 เฮิรตซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ส่วนในแนวแกนยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.150 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 4 เฮิรตซ์ และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

หมายเหตุ : *มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐาน ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมือง(7พฤศจิกายน 2548) ในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจรับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้

ความถี่(เฮิตรซ์)

ความเร็วของอนุภาค(มิลลิเมตร/วินาที)

การขจัด(มิลลิเมตร)

ความถี่(เฮิตรซ์)

ความเร็วของอนุภาค(มิลลิเมตร/วินาที)

การขจัด(มิลลิเมตร)

1

4.7

0.75

21

26.4

0.20

2

9.4

0.75

22

27.6

0.20

3

12.7

0.67

23

28.9

0.20

4

12.7

0.51

24

30.2

0.20

5

12.7

0.40

25

31.4

0.20

6

12.7

0.34

26

32.7

0.20

7

12.7

0.29

27

33.9

0.20

8

12.7

0.25

28

35.2

0.20

9

12.7

0.23

29

36.4

0.20

10

12.7

0.20

30

37.7

0.20

11

13.8

0.20

31

39.0

0.20

12

15.1

0.20

32

40.2

0.20

13

16.3

0.20

33

41.5

0.20

14

17.6

0.20

34

42.7

0.20

15

18.8

0.20

35

44.0

0.20

16

20.1

0.20

36

45.2

0.20

17

21.4

0.20

37

46.5

0.20

18

22.6

0.20

38

47.8

0.20

19

23.9

0.20

39

49.0

0.20

20

25.1

0.20

>40

50.8

0.20

                  *ค่ามาตรฐานความสั่นสะเทือนจากการระเบิดหินในประเทศไทย

                                         ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณบ้านบูเกะยามู 2.บริเวณบ้านบาเซปูเตะ
 โดย ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนมจันทร์
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5236696
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]