การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เทศบาลตำบลห้วยกะปิ
 อำเภอ เมืองชลบุรี
 จังหวัด ชลบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 21395/15618
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ.2550
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 21 เมษายน 2550

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 2 สถานี

 1. น้ำห้วยกะปิ

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH ) เท่ากับ 7.94 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน  คือ 5.0-9.0)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 2 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 895 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 584 mg/l  as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 1.4 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 405 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่า 0.12 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)


 2.น้ำขุมเหมือง

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 8.11 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน  คือ 5.0-9.0)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 2 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 1127 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 650 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 0.96 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 481 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีน้อยกว่า 0.08 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน 1 สถานี

 1.น้ำบ่อตื้นบ้านห้วยกะปิ 

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) เท่ากับ 6.92 (ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) น้อยกว่า 2 mg/l (ไม่ได้กำหนดมาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารทั้งหมดที่ละลายได้ (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 1075 mg/l (ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 0.51 NTU (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.60 mg/l  (ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 179 mg/l  (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม)


 

หมายเหตุ:  *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12(พ.ศ.2542 )เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

                  *มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดิน(ประเภทที่ 3) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537)

                 แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
                   (ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
                   (ข) การเกษตร

 

 สถานที่ตรวจวัด 1.ห้วยกะปิ 2.น้ำขุมเหมือง 3.น้ำบ่อตื้นบ้านห้วยกะปิ
 โดย เอส.พี.เอส. คอนซัลติ้ง เซอร์วิส จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5298486
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]