- ในระหว่างเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2559
(วันที่ 7และ24 พฤศจิกายน 2559)
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณคลองหนองหลวง(ต้นน้ำ)
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.5 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 1.8 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ <5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลายได้รวม(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 229 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 169.2 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 21.43 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ 0.13 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู(Arsenic) เท่ากับ 0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ ไม่มากกว่า 0.01mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม(Cadmium) เท่ากับ <0.00005 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.005mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.0002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.05 mg/l)
2. บริเวณคลองหนองหลวง(ท้ายน้ำ)
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.7 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 2.0 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ <5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลายได้รวม(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 195 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 199.6 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 28.54 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ 0.10 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู(Arsenic) เท่ากับ 0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ ไม่มากกว่า 0.01mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม(Cadmium) <0.00005 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.005mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.00005 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.05 mg/l)
3. บริเวณคลองเริงราง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.4 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 2.1 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลายได้รวม(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 304 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 199.8 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 31.51 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ 0.22 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู(Arsenic) เท่ากับ 0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ ไม่มากกว่า 0.01mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม(Cadmium) <0.00005 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.005mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.00005 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.05 mg/l)
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณน้ำใต้ดินบ้านครัว
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.1 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
- ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.20 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU )
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ <5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลาย (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 624 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์อนุโลมสูงสุด คือ 1200 mg/l)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 455.4 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์อนุโลมสูงสุดคือ 500 mg/l as CaCO3 )
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 49.93 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l )
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ 0.03 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู(Arsenic) เท่ากับ 0.0002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุดคือ ไม่มากกว่า 0.01 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม(Cadmium) <0.00005 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มีเลย)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.0002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 0.05 mg/l)
2. บริเวณน้ำใต้ดินบ้านหนองถ่านใต้
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.8 (ไม่เกินเกณฑ์อนุโลมสูงสุดคือ 6.5-9.2)
- ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.30 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU )
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ <5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลาย (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 746 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์อนุโลมสูงสุด คือ 1200 mg/l)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 491.4 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 500 mg/l as CaCO3 )
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 21.01 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l )
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ 0.10 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู(Arsenic) เท่ากับ 0.0006 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุดคือ ไม่มากกว่า 0.01mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม(Cadmium) <0.0001 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มีเลย)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) 0.0003(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 0.05 mg/l)
3. บริเวณน้ำใต้ดินบ้านเริงราง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.8(ไม่เกินเกณฑ์อนุโลมสูงสุด คือ 6.5-9.2)
- ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.20 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU )
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ <5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลาย (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 599 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 600 mg/l)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 359.7 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 500 mg/l as CaCO3 )
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 28.17 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l )
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) 0.06 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู(Arsenic) เท่ากับ0.0004 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 0.05 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม(Cadmium) <0.00005 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มีเลย)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ 0.0002(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 0.05 mg/l)
หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภค ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2542) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ และมาตรฐานในทางวิชาการสำหรับการป้องกันสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
*มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดิน(ประเภทที่ 3) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537)
แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ (ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน (ข) การเกษตร |