การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. โคกไม้ลาย
 อำเภอ เมืองปราจีนบุรี
 จังหวัด ปราจีนบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 29353/15213
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน และน้ำใต้ดิน
 รายละเอียด
 

ตำบลโคกไม้ลาย อำภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 29353/15213 ของห้างหุ้นส่วนจำกัด อำนวยชัย

 

ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำ  ในวันที่ 1 สิงหาคม 2549

 

1. คุณภาพน้ำผิวดิน   ตรวจวัดในวันที่ 1 สิงหาคม 2549

   1.1 ผลจากการตรวจวัดบริเวณจุดตรวจวัดที่1 บริเวณปากคลองบางพลี

        -ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 6.88 (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

       -ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่นเท่ากับ 66 NTU  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)    

       -ผลจากการตรวจวัดตะกอนทั้งหมดเท่ากับ 132 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

         -ผลจากการตรวจวัดตะกอนละลายพบว่ามีค่าเท่ากับ  96 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดความกระด้างพบว่ามีค่าเท่ากับ  18 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  1 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)        

       -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแคลเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  12 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กพบว่ามีค่าเท่ากับ  2.6 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)      

   1.2 ผลจากการตรวจวัดบริเวณจุดตรวจวัดที่2 บริเวณทางน้ำไม่มีชื่อด้านทิศตะวันออก

        -ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 6.56 (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

       -ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่นเท่ากับ 40 NTU  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)    

       -ผลจากการตรวจวัดตะกอนทั้งหมดเท่ากับ 136 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

         -ผลจากการตรวจวัดตะกอนละลายพบว่ามีค่าเท่ากับ  111 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดความกระด้างพบว่ามีค่าเท่ากับ  18 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  1 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)        

       -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแคลเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  13 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กพบว่ามีค่าเท่ากับ  2.2 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

1.3 ผลจากการตรวจวัดบริเวณจุดตรวจวัดที่3 บริเวณน้ำในขุมเหมือง

        -ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 6.18 (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

       -ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่นเท่ากับ 11 NTU  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)    

       -ผลจากการตรวจวัดตะกอนทั้งหมดเท่ากับ 5,969 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

         -ผลจากการตรวจวัดตะกอนละลายพบว่ามีค่าเท่ากับ  5,962 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดความกระด้างพบว่ามีค่าเท่ากับ  1,572 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  126 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)        

       -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแคลเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  1,055 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กพบว่ามีค่าเท่ากับ  0.32 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)      

      2. คุณภาพน้ำใต้ดิน ตรวจวัดในวันที่ 1 สิงหาคม 2549

   2.1 ผลจากการตรวจวัดบริเวณจุดตรวจวัดที่1 น้ำบ่อตื้นบริเวณชุมชนบ้านปากเหมือง

        -ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 4.39 (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

       -ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่นเท่ากับ 1 NTU  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)    

       -ผลจากการตรวจวัดตะกอนทั้งหมดเท่ากับ 1,210 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

         -ผลจากการตรวจวัดตะกอนละลายพบว่ามีค่าเท่ากับ  1,210 มิลลิกรัมต่อลิตร  (มีค่าเกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดความกระด้างพบว่ามีค่าเท่ากับ  285 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแคลเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  135 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  36 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)   

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กพบว่ามีค่าเท่ากับ  2.1 มิลลิกรัมต่อลิตร (มีค่าเกินเกณฑ์มาตราฐาน)

2.2 ผลจากการตรวจวัดบริเวณจุดตรวจวัดที่2 น้ำบาดาลบริเวณชุมชนบ้านปากเหมือง

        -ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.52 (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

       -ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่นเท่ากับ 1 NTU  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)    

       -ผลจากการตรวจวัดตะกอนทั้งหมดเท่ากับ 40 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

         -ผลจากการตรวจวัดตะกอนละลายพบว่ามีค่าเท่ากับ  40 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดความกระด้างพบว่ามีค่าเท่ากับ  27 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแคลเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  26 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  <1 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)   

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กพบว่ามีค่าเท่ากับ  <0.04 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

2.3 ผลจากการตรวจวัดบริเวณจุดตรวจวัดที่3 น้ำบ่อตื้นบริเวณบ้านโคกไม้ลาย

        -ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 5.98 (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

       -ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่นเท่ากับ 2 NTU  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)    

       -ผลจากการตรวจวัดตะกอนทั้งหมดเท่ากับ 159 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

         -ผลจากการตรวจวัดตะกอนละลายพบว่ามีค่าเท่ากับ  159 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดความกระด้างพบว่ามีค่าเท่ากับ  44 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแคลเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  23 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  5 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)   

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กพบว่ามีค่าเท่ากับ  0.11 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

 2.4 ผลจากการตรวจวัดบริเวณจุดตรวจวัดที่4 น้ำบาดาลบริเวณบ้านโคกไม้ลาย

        -ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.29 (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

       -ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่นเท่ากับ 11 NTU  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)    

       -ผลจากการตรวจวัดตะกอนทั้งหมดเท่ากับ 101 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

         -ผลจากการตรวจวัดตะกอนละลายพบว่ามีค่าเท่ากับ  96 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดความกระด้างพบว่ามีค่าเท่ากับ  25 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแคลเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  23 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  <1 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)   

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กพบว่ามีค่าเท่ากับ  0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

2.5 ผลจากการตรวจวัดบริเวณจุดตรวจวัดที่5 น้ำบ่อตื้นบริเวณบ้านล่าง

        -ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 6.94 (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

       -ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่นเท่ากับ 3 NTU  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)    

       -ผลจากการตรวจวัดตะกอนทั้งหมดเท่ากับ 162 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

         -ผลจากการตรวจวัดตะกอนละลายพบว่ามีค่าเท่ากับ  159 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดความกระด้างพบว่ามีค่าเท่ากับ  76 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแคลเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  71 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  1 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)   

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กพบว่ามีค่าเท่ากับ  0.44 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

2.6 ผลจากการตรวจวัดบริเวณจุดตรวจวัดที่6 น้ำบาดาลบริเวณบ้านล่าง

        -ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.75 (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

       -ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่นเท่ากับ 2 NTU  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)    

       -ผลจากการตรวจวัดตะกอนทั้งหมดเท่ากับ 62 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

         -ผลจากการตรวจวัดตะกอนละลายพบว่ามีค่าเท่ากับ  60 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดความกระด้างพบว่ามีค่าเท่ากับ 12 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแคลเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  11 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซี่ยมพบว่ามีค่าเท่ากับ  <1 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)   

        -ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กพบว่ามีค่าเท่ากับ  0.36 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)

 

 

 

 

 สถานที่ตรวจวัด 1. คุณภาพน้ำผิวดิน ได้แก่ จุดตรวจวัดที่1 บริเวณปากคลองบางพลี , จุดตรวจวัดที่2 บริเวณทางน้ำไม่มีชื่อด้านทิศตะวันออก , บริเวณน้ำในขุมเหมือง และ คุณภาพน้ำใต้ดิน ได้แก่ จุดตรวจวัดที่1 น้ำบ่อตื้นบริเวณชุมชนบ้านปากเหมือง , จุดตรวจวัดที่2 น้ำบาดาลบริเวณชุมชนบ้
 โดย -
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5827685
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]