การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เมืองมาย
 อำเภอ แจ้ห่ม
 จังหวัด ลำปาง
 เลขที่ประทานบัตร 27516/15477
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน ในปี พ.ศ.2551
 รายละเอียด
 
  • ในเดือนมิถุนายน 2551

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 3 สถานี

 1.บริเวณห้วยอ่าง

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 8.3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)        
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 236 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด(Total Suspended Solids) เท่ากับ 1.2 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 163.8 mg/l as CaCO(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)      
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.113 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 2. บริเวณก่อนผ่านจุดเชื่อมระหว่างห้วยอ่างกับน้ำแม่ต๋า 500 ม.

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 8.7 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)        
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 132 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด(Total Suspended Solids) เท่ากับ 56 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 99 mg/l as CaCO(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)      
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.093 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 3. บริเวณหลังผ่านจุดเชื่อมระหว่างห้วยอ่างกับน้ำแม่ต๋า 500 ม.

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH ) เท่ากับ 8.4 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)        
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 128 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด(Total Suspended Solids) เท่ากับ 0.4 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 106 mg/l as CaCO(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)      
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.087 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

 

  • ในเดือนพฤศจิกายน 2551

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 3 สถานี

 1.บริเวณห้วยอ่าง

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 8.45 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)        
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 200 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด(Total Suspended Solids) เท่ากับ 2.4 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ  150 mg/l as CaCO(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)      
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.095 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 2. บริเวณก่อนผ่านจุดเชื่อมระหว่างห้วยอ่างกับน้ำแม่ต๋า 500 ม.

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 8.50 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)        
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 120 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด(Total Suspended Solids) เท่ากับ 25 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 80 mg/l as CaCO (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)      
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ <0.080 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 3. บริเวณหลังผ่านจุดเชื่อมระหว่างห้วยอ่างกับน้ำแม่ต๋า 500 ม.

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH ) เท่ากับ 8.4 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)        
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 98 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด(Total Suspended Solids) เท่ากับ 0.9 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 9.5 mg/l as CaCO(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)      
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.087 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

หมายเหตุ: *มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมตามน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 3
                   แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
                   (ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
                   (ข) การเกษตร

 สถานที่ตรวจวัด 1.ห้วยอ่าง 2.ก่อนผ่านจุดเชื่อมระหว่างห้วยอ่างกับน้ำแม่ต๋า 500 ม. 3.หลังผ่านจุดเชื่อมระหว่างห้วยอ่างกับน้ำแม่ต๋า 500 ม.
 โดย บริษัท เอ บี อี เอ็น เอ็นจอเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด และบริษัท จี อี ซี คอนซัลแตนท์ จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5827512
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]