การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เทศบาลตำบลสีวิเชียร
 อำเภอ น้ำยืน
 จังหวัด อุบลราชธานี
 เลขที่ประทานบัตร 31871/15601
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินในเดือนตุลาคม 2550
 รายละเอียด
 

เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี

1. บริเวณจุดตรวจวัดห้วยโจก

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 6.12 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 11.5 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 50 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 11.36 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 8.88 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.32 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

2.บริเวณจุดตรวจวัดห้วยมะนาว

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 6.99 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย(Total Suspended Solids) เท่ากับ 13 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 98 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 64.60 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(turbidity) เท่ากับ 16.65 NTU  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) มีค่าเท่ากับ 1.16 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

3. บริเวณจุดตรวจวัดอันซอง

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 5.43 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 27.0 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 48 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) มีค่าน้อยกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(turbidity) เท่ากับ 12.89 NTU   (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

สรุปได้ว่า คุณภาพน้ำผิวดินจำนวน 3 สถานี พบว่าดัชนีที่ตรวจพบเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานมีค่าอยู่ในมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่3 แต่หากจะนำน้ำมาใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคจะต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน

 

เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 8 สถานี

 4. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณบ้านหนองเทา ดังนี้

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.96 (ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย(Suspended Solids) น้อยกว่า 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดมาตรฐาน)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าสารทั้งหมดที่ละลายได้ (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 202 มิลลิกรัมต่อลิตร (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 72.72 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 0.21 NTU (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.04 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

   5. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณบ้านหนองทับ ดังนี้

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.58 (ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย(Suspended Solids) น้อยกว่า 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดมาตรฐาน)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าสารทั้งหมดที่ละลายได้(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 240 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 149.99 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) น้อยกว่า 0.01 NTU (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.04 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม)

 

6. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณน้ำบาดาลโรงเรียนบ้านเจริญศึกษา ดังนี้

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 5.59 ( ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและไม่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย( Suspended Solids) เท่ากับ 61 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได้(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 42 มิลลิกรัมต่อลิตร (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 20.45 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(turbidity) เท่ากับ 382 NTU ( ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและไม่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) มีค่าเท่ากับ 7.8 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนดและไม่ผ่านเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

   7. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณบ้านเกษตรสมบูรณ์ดังนี้

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.79 (ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย ( Suspended Solids) เท่ากับ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได้ (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 404 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 388.61 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) น้อยกว่า 0.01 NTU ( อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.44 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

 

8. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบ้านเกษตรภูทอง 1 ดังนี้

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.76 (ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย(Suspended Solids) น้อยกว่า 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดมาตรฐาน)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าสารทั้งหมดที่ละลายได้(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 159 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 109.08 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) น้อยกว่า 0.01 NTU (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.11 มิลลิกรัมต่อลิตร(ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

   9. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบ้านโนนทอง ดังนี้

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.54 (อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย ( Suspended Solids) เท่ากับ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดมาตรฐาน)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าสารทั้งหมดที่ละลายได้(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 267 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 0.41 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(turbidity) เท่ากับ 0.41 NTU (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม)

10. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณบ่อน้ำตื้นบ้านหนองแจงแมง ดังนี้

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 5.01 ( ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและไม่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) เท่ากับ 3.5 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได้ (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 14 มิลลิกรัมต่อลิตร (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) น้อยกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 15.29 NTU ( ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.67 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนดแต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

    11. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณน้ำบาดาลโครงการน้ำยืนศิลาทอง ดังนี้

·        ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 5.67 (ไม่อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมและไม่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด)

·         ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได้ (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 118 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 38.634 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 0.34 NTU (อยู่ในเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม)

·         ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำหนด)

      ดังนั้น ดัชนีที่ตรวจพบในน้ำบาดาลทั้ง 8 จุด ส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในมาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ยกเว้นดัชนีค่าความเป็นกรดของน้ำบาดาลโรงเรียนเจริญศึกษา,น้ำบ่อตื้นบ้านหนองแจงแมง,น้ำบาดาลโครงการน้ำยืนศิลาทอง ค่าความขุ่นและปริมาณเหล็กรวมของน้ำบาดาลโรงเรียนเจริญศึกษาที่มีค่าค่อนข้างสูง แต่อย่างไรก็ตามน้ำดังกล่าวนำมาใช้อุปโภคเท่านั้น ซึ่งความเป็น กรด-ด่าง, ความขุ่นและปริมาณเหล็กที่ตรวจพบจะไม่มีผลกระทบต่อการใช้น้ำในลักษณะดังกล่าว

 

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12(พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

 

มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาล

เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม

เกณฑ์อนุโลมสูงสุด

ความเป็นกรด-ด่าง(pH)

7.0 - 8.5

6.5 - 9.2

ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids)

ไม่ได้กำหนด

ไม่ได้กำหนด

ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids)

600 มิลลิกรัมต่อลิตร

1,200 มิลลิกรัมต่อลิตร

ความกระด้างทั้งหมด          (Total Hardness)

300 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3

500 มิลลิกรัมต่อลิตร

as CaCO3

ค่าความขุ่น (Turbidity)

5 NTU

20 NTU

ปริมาณเหล็กทั้งหมด       (Total Iron)

0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร

1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร

ซัลเฟต (Sulfate)

200 มิลลิกรัมต่อลิตร

250 มิลลิกรัมต่อลิตร

 

                  * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

 

                * มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12(พ.ศ. 2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณห้วยโจก 2.บริเวณห้วยมะนาว 3.บริเวณอันซอง 4.บริเวณบ้านหนองเทา 5.บริเวณบ้านหนองทับ 6.บริเวณน้ำบาดาลโรงเรียนบ้านเจริญศึกษา 7.บริเวณบ้านเกษตรสมบูรณ์ 8.บริเวณบ้านเกษตรภูทอง1 9.บริเวณบ้านโนนทอง 10.บริเวณบ่อน้ำตื้นบ้านหนองแจงแมง 11.บริเวณน้ำบาดาลโครงกา
 โดย บริษัท พัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5827428
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]