การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. ท่าอุแท
 อำเภอ กาญจนดิษฐ์
 จังหวัด สุราษฎร์ธานี
 เลขที่ประทานบัตร 23174/14322
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ. 2552
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2552

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 3 สถานี

 1. บริเวณคลองท่าทองก่อนโคงการ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.23 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอยรวม(Suspended Solids) เท่ากับ 3.6 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลาย(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 280 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 7.5 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 224 mg/l  as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม(Calcium) เท่ากับ 47.25 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม(Magnesium) เท่ากับ 9.40 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 11.50 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 2. บริเวณคลองท่าทองหลังโคงการ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.30 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 4.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลาย(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 280 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 7.8 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 226 mg/l  as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม(Calcium) เท่ากับ 48.85 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม(Magnesium) เท่ากับ 9.10 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 15.60 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 3. บริเวณในขุมเหมือง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.47 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอยรวม(Suspended Solids) เท่ากับ 1.6 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลาย(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 370 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 5.0 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 290 mg/l  as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม(Calcium) เท่ากับ 49.55 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม(Magnesium) เท่ากับ 20.60 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 14.80 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน 3 สถานี

 1. บริเวณน้ำบาดาลบ้านวัดนอก

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.07 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 1.2 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลาย(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 332 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 3.5 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 292 mg/l  as CaCO3  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 300 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม(Calcium) เท่ากับ 53.55 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม(Magnesium) เท่ากับ 24.05 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 14.80 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)

 2. บริเวณน้ำบาดาลบ้านแร่

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.33 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 0.4 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลาย(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 366 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 2.5 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 286 mg/l  as CaCO3  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 300 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม(Calcium) เท่ากับ 51.45 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม(Magnesium) เท่ากับ 18.50 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 2.5 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)

  3. บริเวณบ่อน้ำตื้นบ้านมะขาม

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.20 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 0.2 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลาย(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 350 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 2.0 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 282 mg/l  as CaCO3  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 300 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม(Calcium) เท่ากับ 69.60 mg/l  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม(Magnesium) เท่ากับ 4.30 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 12.30 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)

 

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภค ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12      (พ.ศ.2542) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและการป้องกันในเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

                  *มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมตามน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน

 

 สถานที่ตรวจวัด 1.คลองท่าทองก่อนโคงการ 2.คลองท่าทองหลังโคงการ 3.ในขุมเหมือง 4.น้ำบาดาลบ้านวัดนอก 5.น้ำบาดาลบ้านแร่ 6.บ่อน้ำตื้นบ้านมะขาม
 โดย ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5829563
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]