- ในวันที่ 29-30 มีนาคม 2553
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 2 สถานี
1. คลองฉนากก่อนผ่านพื้นที่โครงการ
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.40 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 5.328 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณของแข็งทั้งหมด (TS) เท่ากับ 56.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารแขวนลอย(SS) เท่ากับ 2.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.445 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. คลองฉนากหลังผ่านพื้นที่โครงการ
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.50 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 6.993 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณของแข็งทั้งหมด (TS) เท่ากับ 51.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารแขวนลอย(SS) เท่ากับ 7.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.380 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 2 สถานี
1. คลองฉนากก่อนผ่านพื้นที่โครงการ
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.00 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 5.994 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารแขวนลอย(SS) เท่ากับ 1.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณของแข็งทั้งหมด (TS) เท่ากับ 65.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.885 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. คลองฉนากหลังผ่านพื้นที่โครงการ
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.50 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 7.659 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารแขวนลอย(SS) เท่ากับ 1.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณของแข็งทั้งหมด (TS) เท่ากับ 43.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 1.000 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
หมายเหตุ: *มาตรฐาน ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537)
เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมตามน้ำในแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 3
แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
(ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
(ข) การเกษตร