- ในวันที่ 29 เดือนมกราคม 2553
เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณห้วยบ่อตะเคียน
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.26 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 3.663 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) เท่ากับ 4.0 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 952.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 792.80 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 259.95 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.115 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่า BOD5 เท่ากับ 3.0 mg/l (ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 2.0 mg/l)
2. บริเวณขุมเหมืองเก่าธารรัก
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.17 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.332 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) เท่ากับ 1.0 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 2130 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 1807.68 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 294.25 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.050 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่า BOD5 เท่ากับ 1.0 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 2.0 mg/l)
3. บริเวณ Sump โครงการธารรัก
- น้ำแห้งไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำมาทำการวิเคราะห์ได้
- ในวันที่ 7 เดือนเมษายน 2553
เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณห้วยบ่อตะเคียน
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.10 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 12.987 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) เท่ากับ 2.0 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 316 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 134 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 23.25 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.300 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่า BOD5 เท่ากับ 3.0 mg/l (ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 2.0 mg/l)
2. บริเวณขุมเหมืองเก่าธารรัก
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.60 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.332 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) เท่ากับ 1.0 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 2,050 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 1,515 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 268.75 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่า BOD5 เท่ากับ 2.0 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 2.0 mg/l)
3. บริเวณ Sump โครงการธารรัก
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.80 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 3.996 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) เท่ากับ 1.0 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 780 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 492 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 122.85 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.070 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่า BOD5 เท่ากับ 1.0 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 2.0 mg/l)
หมายเหตุ: *มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมตามน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 3 แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ (ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน (ข) การเกษตร |