ประจำเดือน ตุลาคม 2553
เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณน้ำที่ซึมซับจากเหมืองอุโมงค์
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.51 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 70 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรท์ทั้งหมด (Total Fluoride) เท่ากับ 0.32 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณน้ำในแม่น้ำปายบริเวณก่อนเข้าพื้นที่โครงการฯ
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.52 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 55 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรท์ทั้งหมด (Total Fluoride) เท่ากับ 0.18 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
3. บริเวณน้ำในแม่น้ำปายบริเวณหลังจากที่ผ่านพื้นที่โครงการฯไปแล้ว
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.52 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 67 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรท์ทั้งหมด (Total Fluoride) เท่ากับ 0.24 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
หมายเหตุ * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3 (สามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการอุปโภค ? บริโภคได้ โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไป)
*มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ