ประจำเดือนพฤษภาคม 2553
เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 5 สถานี
1. บริเวณขุมเหมืองที่ 1
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.46 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 11 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 192 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 370 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.56 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรท์ (Fluoride) เท่ากับ 2.0 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.68 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณขุมเหมืองที่ 2
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.80 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 2.6 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 279 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 513 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.20 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรท์ (Fluoride) เท่ากับ 4.8 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.64 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
3. บริเวณขุมเหมืองที่ 3
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 6.69(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 4.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 190 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 351 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.22 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรท์ (Fluoride) เท่ากับ 1.5 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.74 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
4. บริเวณห้วยทรายขาวก่อนผ่านพื้นที่เหมือง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.77 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 1.1 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 184 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 325 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.10 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรท์ (Fluoride) เท่ากับ 2.5 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.68 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
5. บริเวณห้วยทรายขาวหลังผ่านพื้นที่เหมือง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.46 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 21 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 692 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 1244 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.54 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรท์ (Fluoride) เท่ากับ 7.4 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.53 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
ประจำเดือนพฤศจิกายน 2553
เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณขุมเหมือง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 6.60 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 4.4 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 14 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 38 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.90 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรท์ (Fluoride) เท่ากับ - mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 2.4 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณห้วยทรายขาวก่อนผ่านพื้นที่เหมือง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.98 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 9.4 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 212 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 462 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 1.8 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรท์ (Fluoride) เท่ากับ - mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 6.0 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
3. บริเวณห้วยทรายขาวหลังผ่านพื้นที่เหมือง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.88 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 14 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 108 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 260 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.24 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรท์ (Fluoride) เท่ากับ - mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 2.6 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
หมายเหตุ * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3 (สามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการอุปโภค ? บริโภคได้ โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไป)
*มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ