- ในระหว่างวันที่ 6 มีนาคม 2553
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 2 สถานี
1. บริเวณห้วยสังขะยวน
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.91 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.2)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 1.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลายน้ำรวม(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 368.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 236.0 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 3.333 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.110 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 14.05 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณแม่น้ำเชิญ
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.96 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.2)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 1.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลายน้ำรวม(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 360.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 230.0 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 3.366 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.185 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 13.38 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
เรื่องผลการตวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 1 สถานี
1. บ่อบาดาลบ้านหนองแห้ว
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.63 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 6.5-9.2)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 7.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลายน้ำรวม(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 104.0 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600 mg/l)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 31.0 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 300 mg/l as CaCO3 )
- ผลการตรวจวัดความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 15.984 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 20 NTU)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.820 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 1.0 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 16.25 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)
หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
มาตรฐานคุณภาพ
น้ำบาดาล |
เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม |
เกณฑ์อนุโลมสูงสุด |
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) |
7.0 - 8.5 |
6.5 - 9.2 |
ปริมาณสารแขวนลอย
(Suspended Solids) |
ไม่ได้กำหนด |
ไม่ได้กำหนด |
ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลาย
น้ำ(Total Dissolved Solids) |
600 mg/l |
1,200 mg/l |
ความกระด้างทั้งหมด
(Total Hardness) |
300 mg/l as CaCO3 |
500 mg/l as CaCO3 |
ค่าความขุ่น (Turbidity) |
5 NTU |
20 NTU |
ปริมาณเหล็กทั้งหมด
(Total Iron) |
0.5 mg/l |
1.0 mg/l |
ซัลเฟต (Sulfate) |
200 mg/l |
250 mg/l |
* มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3
* มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
|