- ในระหว่างวันที่ 3-5 มีนาคม 2552
เรื่องผลการตรวจวัดระดับเสียง จำนวน 5 สถานี
- บริเวณบ้านควนนนท์ ผลการตรวจวัดระดับเสียงในบรรยากาศ เฉลี่ยต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง เท่ากับ 56.2 dB(A) (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- บริเวณโรงแต่งแร่ ผลการตรวจวัดระดับเสียงในบรรยากาศ เฉลี่ยต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง เท่ากับ 63.8 dB(A) (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- บริเวณวัดไม้เรียง ผลการตรวจวัดระดับเสียงในบรรยากาศ เฉลี่ยต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง เท่ากับ 58.7dB(A) (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- บริเวณโรงเรียนบ้านหนองท่อม ผลการตรวจวัดระดับเสียงในบรรยากาศ เฉลี่ยต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง เท่ากับ 52.2 dB(A) (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- บริเวณบ้านคลองหราด ผลการตรวจวัดระดับเสียงในบรรยากาศ เฉลี่ยต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง เท่ากับ 54.0 dB(A) (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- ในระหว่างวันที่ 23-25 ตุลาคม 2552
เรื่องผลการตรวจวัดระดับเสียง จำนวน 5 สถานี
- บริเวณบ้านควนนนท์ ผลการตรวจวัดระดับเสียงในบรรยากาศ เฉลี่ยต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง เท่ากับ 56.4 dB(A) (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- บริเวณโรงแต่งแร่ ผลการตรวจวัดระดับเสียงในบรรยากาศ เฉลี่ยต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง เท่ากับ 63.9 dB(A) (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- บริเวณวัดไม้เรียง ผลการตรวจวัดระดับเสียงในบรรยากาศ เฉลี่ยต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง เท่ากับ 58.4 dB(A) (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- บริเวณโรงเรียนบ้านหนองท่อม ผลการตรวจวัดระดับเสียงในบรรยากาศ เฉลี่ยต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง เท่ากับ 52.1 dB(A) (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
- บริเวณบ้านคลองหราด ผลการตรวจวัดระดับเสียงในบรรยากาศ เฉลี่ยต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง เท่ากับ 54.1 dB(A) (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
หมายเหตุ: *มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ.2548) เรื่องกำหนดให้เหมืองหินเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือน ที่กำหนดให้ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบล(เอ) และระดับเสียงสูงสุด มีค่าได้ไม่เกิน 115 เดซิเบล(เอ)
หมายเหตุ: *มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ.2548) เรื่องกำหนดให้เหมืองหินเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือน ที่กำหนดให้ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบล(เอ) และระดับเสียงสูงสุด มีค่าได้ไม่เกิน 115 เดซิเบล(เอ)