- ในวันที่ 6 เดือนพฤศจิกายน 2553
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 1 สถานี
1. บริเวณน้ำในขุมเหมือง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.12 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลการตรวจวัดปริมาณความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 165 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 224 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนที่ละลายน้ำทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 1,890 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 2,227 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 256 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 6.595 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 1 สถานี
1. บริเวณบ่อน้ำตื้นบ้านห้วยมะนาว
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.89 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 6.5-9.2)
- ผลการตรวจวัดปริมาณความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 1.995 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 5 NTU)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนที่ละลายน้ำทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 356 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600 mg/l)
- ผลการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 198 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 300 mg/l as CaCO3)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 6.85 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron) เท่ากับ 0.03 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภค ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2542) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและการป้องกันในเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
*มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมตามน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน