เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณขุมเหมืองเก่า
- น้ำแห้งไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำมาทำการวิเคราะห์ได้
2. บริเวณห้วยบ่อตะเคียน
- น้ำแห้งไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำมาทำการวิเคราะห์ได้
3. บริเวณจาก Sump ของพื้นที่โครงการ
- ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.42 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 3 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 3,188 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 2,010 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 2 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดปริมาณ BOD5 เท่ากับ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณขุมเหมืองเก่า
- น้ำแห้งไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำมาทำการวิเคราะห์ได้
2. บริเวณห้วยบ่อตะเคียน
- น้ำแห้งไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำมาทำการวิเคราะห์ได้
3. บริเวณจาก Sump ของพื้นที่โครงการ
- ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.57 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 6 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 2,849 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 1,890 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 3.9 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดปริมาณ BOD5 เท่ากับ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)
หมายเหตุ:*มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3
* มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ