การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เทศบาลตำบลโคกตูม
 อำเภอ เมือง
 จังหวัด ลพบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 29110/15382
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน และน้ำใต้ดิน 2553
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่  16 มิถุนายน 2553

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 1 สถานี

1. บริเวณน้ำที่ระบายออกจากหน้าเหมือง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.40 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)  
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 7.1 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 2 สถานี 

1.  บ้านเรือนราษฎรด้านทิศตะวันออกของโรงแต่งแร่

  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 4.4 NTU (ไม่เกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกิน 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.064 mg/L  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 58.098 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 635.24 mg/l  as CaCO3 (เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 500 mg/l as CaCO3)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ < 2.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

2. บ้านเรือนราษฎรด้านทิศตะวันตกของโรงแต่งแร่

  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 4.5 NTU (ไม่เกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกิน 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.8 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.004 mg/L  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 9.679 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 273.36 mg/l  as CaCO3 (ไม่เกณฑ์มาตรฐาน คือ 300 mg/l as CaCO3)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ < 2.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ในวันที่  13 สิงหาคม 2553

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 1 สถานี

1. บริเวณน้ำที่ระบายออกจากหน้าเหมือง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.9 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)  
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 15.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 2 สถานี 

1.  บ้านเรือนราษฎรด้านทิศตะวันออกของโรงแต่งแร่

  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 4.2 NTU (ไม่เกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกิน 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.7 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.223 mg/L  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 58.874 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 858.92 mg/l  as CaCO3 (เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 500 mg/l as CaCO3)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ < 2.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

2. บ้านเรือนราษฎรด้านทิศตะวันตกของโรงแต่งแร่

  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 4.4 NTU (ไม่เกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกิน 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.1 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.085 mg/L  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 15.809 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 654.26 mg/l  as CaCO3 (เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 500 mg/l as CaCO3)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ < 2.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ในวันที่  16 ธันวาคม 2553

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 1 สถานี

1. บริเวณน้ำที่ระบายออกจากหน้าเหมือง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.77 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)  
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 24.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภค ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2542) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและการป้องกันในเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

        *มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมตามน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณน้ำที่ระบายออกจากหน้าเหมือง 2.บ้านเรือนราษฎรด้านทิศตะวันออกของโรงแต่งแร่ 3.บ้านเรือนราษฎรด้านทิศตะวันตกของโรงแต่งแร่
 โดย บริษัท เอ็นไวรอนเมนท์ รีเสริช แอนด์ เทคโนโลยี จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5835166
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]