- ในระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน 2553
(วันที่ 14 มกราคม 2553)
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณน้ำในบ่อเหมืองหินดินดาน
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.9 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 10 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลายได้รวม(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 446 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ 0.38 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 14 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 259 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 187 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณน้ำจากแม่น้ำป่าสัก
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.9 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 22 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลายได้รวม(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 228 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ 0.64 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 15 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 158 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 15.24 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
3. บริเวณห้วยอีร้า
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.2 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ <5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลายได้รวม(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 376 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ 0.20 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 4.6 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 196 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 32.19 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณบ่อน้ำตื้นบ้านป่าไผ่
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.8 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 6.5-9.2)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ <5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลาย (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 710 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 1200 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.10 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
- ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.50 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU )
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 501 mg/l as CaCO3 (ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 500 mg/l as CaCO3 )
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 101 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l )
2. บริเวณบ่อน้ำตื้นบ้านช่องใต้
- ไม่ได้ทำการตรวจวัด เนื่องไม่พบบ่อบาดาลในบริเวณหมู่บ้านที่จะเป็นแหล่งน้ำสำหรับนำมาใช้อุปโภคและบริโภค
3. บริเวณบ่อน้ำตื้นบ้านหนองมะค่า
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.0 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ <5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนละลาย (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 732 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 1200 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ<0.10 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
- ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 1.2 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU )
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 467 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 500 mg/l as CaCO3 )
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 108 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l )
หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภค ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2542) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ และมาตรฐานในทางวิชาการสำหรับการป้องกันสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
*มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดิน(ประเภทที่ 3) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537)
แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
(ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
(ข) การเกษตร