- ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2553
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 1 สถานี
1. บริเวณห้วยใกล้กับแปลงคำขอประทานบัตรที่ 288/2532(27873/14710)
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย ( Suspended Solids) เท่ากับ 18 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) ไม่พบ (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด ( Total Solids) เท่ากับ 351 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 236 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นด่าง (Aikalinity) เท่ากับ 230 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตวจวัดปริมาณคลอไรด์ (Cholride) เท่ากับ 13.7 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ <0.048 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.02 mg/l Fe (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 1 สถานี
1. บริเวณห้วยใกล้กับแปลงคำขอประทานบัตรที่ 288/2532 (27873/14710)
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.1 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย ( Suspended Solids) เท่ากับ 26 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) ไม่พบ (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด ( Total Solids) เท่ากับ 290 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 224 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นด่าง (Aikalinity) เท่ากับ 230 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตวจวัดปริมาณคลอไรด์ (Cholride) เท่ากับ 4.6 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ <0.048 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.09 mg/l Fe (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
หมายเหตุ: * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3
แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
1) การอุปโภคและบริโภค โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติก่อนและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
2) การเกษตร
|