- ประเดือนมกราคม-มิถุนายน 2553
เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณสำนักงานโครงการ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาคทั้งสามแนววมีค่า <0.100 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
2. บริเวณชุมชนสำเภาทอง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาคทั้งสามแนววมีค่า <0.100 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
3.บริเวณหน่วยจัดการป่าไม้ห้วยหลวง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาคทั้งสามแนววมีค่า <0.100 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- ประเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553
เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณสำนักงานโครงการ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าแรงสั่นสะเทือนได้เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาคที่วัดได้ในแนวยาวมีค่า 1.270 มิลลิเมตร/วินาที ในแนวตั้ง มีค่า0.508 มิลลิเมตร/วินาที ส่วนในแนวขวาง มีค่า 1.020 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
2. บริเวณชุมชนสำเภาทอง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาคทั้งสามแนววมีค่า <0.100 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
3.บริเวณหน่วยจัดการป่าไม้ห้วยหลวง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาคทั้งสามแนววมีค่า <0.100 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
หมายเหตุ: * มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมืองหิน (29 ธันวาคม 2548) ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้