- ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน 2553
เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 6 สถานี
1. บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมหมู่บ้านสำเภาทองทิศเหนือ 1กิโลเมตร
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.7(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 4.0 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 103 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.11 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ 0.0000003 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมห่างจากพื้นที่ทิศเหนือ 2กิโลเมตร
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.2(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 2.2 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 90 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ 0.0000003 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
3. บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมห่างจากพื้นที่ทิศตะวันออก 2กิโลเมตร
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.4(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 2.2 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 89 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ 0.0000003 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
4. บริเวณบ่อดักตะกอนสุดท้าย
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.6(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.8 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 273 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.007 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ 0.0000003 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
5. น้ำจากสระน้ำหมู่บ้านเวียงทอง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.4(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 5.6 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 118 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ 0.0000003 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
6. บ่อน้ำซับชุมชนบ้านสำเภาทอง
**ไม่ได้ดำเนินการเก็บตัวอย่างน้ำ เนื่องจากไม่มีน้ำเพียงพอในการเก็บตัวอย่างวิเคราะห์ **
เรื่อง ผลการตรวจคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 1 สถานี
1. บ่อบาดาลคันโยกหมู่บ้านไผ่งาม
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.3(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.90 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 422 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 500 )
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.007 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ 0.0001 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ 0.0000003 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.001 mg/l)
- ประจำเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553
เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 6 สถานี
1. บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมหมู่บ้านสำเภาทองทิศเหนือ 1กิโลเมตร
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.6(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 4.5 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 111 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.88 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ <0.0001 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมห่างจากพื้นที่ทิศเหนือ 2กิโลเมตร
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.6(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 4.5 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 112 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.26 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ <0.0001 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
3. บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมห่างจากพื้นที่ทิศตะวันออก 2กิโลเมตร
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.5(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 4.2 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 116 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.22 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ <0.0001 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
4. บริเวณบ่อดักตะกอนสุดท้าย
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.7(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 2.7 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 98 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.26 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ <0.0001 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
5. น้ำจากสระน้ำหมู่บ้านเวียงทอง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.4(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 3.7 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 110 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.13 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ <0.0001 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
6. บ่อน้ำซับชุมชนบ้านสำเภาทอง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.3(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 2.7 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 104 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.64 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ <0.0001 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
เรื่อง ผลการตรวจคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 1 สถานี
1. บ่อบาดาลคันโยกหมู่บ้านไผ่งาม
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 6.7(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน อนุโลมสูงสุด คือ 6.5-9.2)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.50 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 426 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 500 )
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 1.0 mg/l)
- ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ 0.0001 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
- ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ <0.0001 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.001 mg/l)
หมายเหตุ1: *มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมตามน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 3
แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
(ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
(ข) การเกษตร