การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. บุฮม
 อำเภอ เชียงคาน
 จังหวัด เลย
 เลขที่ประทานบัตร 27164/15740
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ. 2554
 รายละเอียด
 
  •  ในระหว่างวันที่ 26 เมษายน 2554

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน  4 สถานี

 1.  บริเวณห้วยผึ้งใหญ่

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.98(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 29.7 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 202 mg/l as CaCO (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 340 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 322 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 26.3 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 1.20 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ 0.02 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 1.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) เท่ากับ น้อยกว่า 0.05 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณทองแดง (Copper) เท่ากับ น้อยกว่า 0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.1)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) เท่ากับ 0.0051 mg/l  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.01)

 2. บริเวณจุดรวมในเหมือง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.02(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 40.6 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 226 mg/l as CaCO (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 430 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 401 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 53.2 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 2.21 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ 0.08 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 1.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) เท่ากับ น้อยกว่า 0.05 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณทองแดง (Copper) เท่ากับ น้อยกว่า 0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.1)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) เท่ากับ 0.0054 mg/l  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.01)

 3.บริเวณห้วยเก้าค้าง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.00(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 12.5 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 192 mg/l as CaCO (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 344 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 325 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 43.6 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.54 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ น้อยกว่า 0.02 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 1.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) เท่ากับ น้อยกว่า 0.05 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณทองแดง (Copper) เท่ากับ น้อยกว่า 0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.1)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) เท่ากับ ไม่พบ  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.01)

 4.บริเวณห้วยผึ้ง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.67(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 35.2 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 125 mg/l as CaCO (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 254 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 295 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 25.1 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 1.14 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ น้อยกว่า 0.02 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 1.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) เท่ากับ น้อยกว่า 0.05 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณทองแดง (Copper) เท่ากับ น้อยกว่า 0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.1)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) เท่ากับ ไม่พบ  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.01)

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน  1 สถานี

 1. น้ำบาดาลวัดคีรีวงศ์

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.16 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 11.4 NTU (เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 585 mg/l as CaCO (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลม คือ ไม่มากกว่า 500 mg/l as CaCO3 )
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 1194 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 1192 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 203 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 250 mg/l)  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 1.11 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 1.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส(Manganese) เท่ากับ 0.02 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 0.5mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ น้อยกว่า 0.05 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 0.05 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณทองแดง(Copper) เท่ากับ น้อยกว่า 0.10 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 1.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู(Arsenic) เท่ากับ ไม่พบ(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ -)

 

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12         (พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
        *มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

              

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณห้วยผึ้งใหญ่ 2.บริเวณจุดรวมในเหมือง 3.บริเวณห้วยเก้าค้าง 4.บริเวณห้วยผึ้ง 5.น้ำบาดาลวัดคีรีวงศ์
 โดย บริษัท พี.ที.เค.ไมน์นิ่ง จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5826565
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]