การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เทศบาลตำบลบ้านสา
 อำเภอ แจ้ห่ม
 จังหวัด ลำปาง
 เลขที่ประทานบัตร 27457/14689
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบนดินและน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ.2554
 รายละเอียด
 
  • ระหว่างเดือน 25-26 มกราคม 2554

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน  6 สถานี
 1. บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมหมู่บ้านสำเภาทองทิศเหนือ 1กิโลเมตร

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.9(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 2.3 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 99 mg/l as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ ไม่พบ  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ ไม่พบ (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

2. บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมห่างจากพื้นที่ทิศเหนือ 2กิโลเมตร
                

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.9(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.7 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 100 mg/l as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ ไม่พบ (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ ไม่พบ (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 

 3. บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมห่างจากพื้นที่ทิศตะวันออก 2กิโลเมตร

  •  ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.9(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 2.3 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 104 mg/l as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ ไม่พบ (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)               

 4. บริเวณบ่อดักตะกอนสุดท้าย
          

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.4(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.6 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 325 mg/l as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ<0.10 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ ไม่พบ (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ ไม่พบ (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 

5. น้ำจากสระน้ำหมู่บ้านเวียงทอง
             

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.2(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 4.3 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 98 mg/l as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ ตรวจไม่พบ(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 

 6. บ่อน้ำซับชุมชนบ้านสำเภาทอง
**ไม่ได้ดำเนินการเก็บตัวอย่างน้ำ เนื่องจากไม่มีน้ำเพียงพอในการเก็บตัวอย่างวิเคราะห์ **             

เรื่อง ผลการตรวจคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 1 สถานี

1. บ่อบาดาลคันโยกหมู่บ้านไผ่งาม 
                

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.1(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.0 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 422 mg/l as CaCO3  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 500 )
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead) เท่ากับ ไม่พบ (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.05) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท(Mercury) เท่ากับ ไม่พบ (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.001 mg/l) 

หมายเหตุ1: *มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมตามน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 3
                   แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
                   (ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
                   (ข) การเกษตร


 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมหมู่บ้านสำเภาทองทิศเหนือ 1กิโลเมตร 2.บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมห่างจากพื้นที่ทิศเหนือ 2กิโลเมตร 3.บริเวณในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนกิ่วลมห่างจากพื้นที่ทิศตะวันออก 2กิโลเมตร 4.บริเวณบ่อดักตะกอนสุดท้าย 5.น้ำจากสร
 โดย บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5804821
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]