การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. เทศบาลตำบลห้วยกะปิ
 อำเภอ เมืองชลบุรี
 จังหวัด ชลบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 21371/15373
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในบรรยากาศ ในปี พ.ศ.2551
 รายละเอียด
 
  • ในเดือนเมษายน 2551

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 4 สถานี

  1. บริเวณโรงเรียนวัดเขาเชิงเทียนเทพาราม ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคได้ทั้ง3แนว ซึ่งในแนวทแยงมีค่าเท่ากับ 0.832มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 99 เฮิรตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00185 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.663 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 36 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00334 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.81 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 23 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00421 มิลลิเมตร โดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง3แนว เท่ากับ 14.1 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณวัดวังตะโก ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254   มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  3. บริเวณชุมชนบ้านมาบหวาย ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคได้ทั้ง3แนว ซึ่งในแนวทแยงมีค่าเท่ากับ 4.55 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 20 เฮิรตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.0062 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 8.41 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 18 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.0136 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 9.82 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 20 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.0328 มิลลิเมตร โดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง3แนว เท่ากับ 2.82 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  4. บริเวณชุมชนบ้านชากพุดซา  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

 

  • ในเดือนสิงหาคม  2551

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 4 สถานี

  1. บริเวณโรงเรียนวัดเขาเชิงเทียนเทพาราม ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคได้ทั้ง3แนว ซึ่งในแนวทแยงมีค่าเท่ากับ 0.698มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 27 เฮิรตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00465 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.446 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 13 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00859 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.954 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 20 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.01780 มิลลิเมตร โดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง3แนว เท่ากับ 1.03 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณวัดวังตะโก ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254   มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  3. บริเวณชุมชนบ้านมาบหวาย ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคได้ทั้ง3แนว ซึ่งในแนวทแยงมีค่าเท่ากับ 0.508 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 23 เฮิรตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00533 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.191 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 28 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00143 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.635 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 29 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00794 มิลลิเมตร โดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง3แนว เท่ากับ0.667  มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  4. บริเวณชุมชนบ้านชากพุดซา  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

 

  •  ในเดือนพฤศจิกายน 2551

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 4 สถานี

  1. บริเวณโรงเรียนวัดเขาเชิงเทียนเทพาราม ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคได้ทั้ง3แนว ซึ่งในแนวทแยงมีค่าเท่ากับ 0.274มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 20 เฮิรตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00053 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.4127 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 34 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.191 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 37 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร โดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง3แนว เท่ากับ 0.318 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณวัดวังตะโก ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254   มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  3. บริเวณชุมชนบ้านมาบหวาย ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคได้ทั้ง3แนว ซึ่งในแนวทแยงมีค่าเท่ากับ 0.191 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 20 เฮิรตซ์  และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00115 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.262 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 23 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.258 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 23 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร โดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง3แนว เท่ากับ 0.286 มิลลิเมตร/วินาที (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  4. บริเวณชุมชนบ้านชากพุดซา  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

 

มายเหตุ : *มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐาน ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมือง(7พฤศจิกายน 2548) ในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้

ความถี่(เฮิตรซ์)

ความเร็วของอนุภาค(มิลลิเมตร/วินาที)

การขจัด(มิลลิเมตร)

ความถี่(เฮิตรซ์)

ความเร็วของอนุภาค(มิลลิเมตร/วินาที)

การขจัด(มิลลิเมตร)

1

4.7

0.75

21

26.4

0.20

2

9.4

0.75

22

27.6

0.20

3

12.7

0.67

23

28.9

0.20

4

12.7

0.51

24

30.2

0.20

5

12.7

0.40

25

31.4

0.20

6

12.7

0.34

26

32.7

0.20

7

12.7

0.29

27

33.9

0.20

8

12.7

0.25

28

35.2

0.20

9

12.7

0.23

29

36.4

0.20

10

12.7

0.20

30

37.7

0.20

11

13.8

0.20

31

39.0

0.20

12

15.1

0.20

32

40.2

0.20

13

16.3

0.20

33

41.5

0.20

14

17.6

0.20

34

42.7

0.20

15

18.8

0.20

35

44.0

0.20

16

20.1

0.20

36

45.2

0.20

17

21.4

0.20

37

46.5

0.20

18

22.6

0.20

38

47.8

0.20

19

23.9

0.20

39

49.0

0.20

20

25.1

0.20

>40

50.8

0.20

              *มาตรฐานความสั่นสะเทือนจากการทำเหมืองหิน

         *ประกาศกระทรงวทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกาศกิจจานุเบกษา วันที่ 29 ธันวาคม 2548

 


                   

 สถานที่ตรวจวัด 1.โรงเรียนวัดเขาเชิงเทียนเทพาราม 2.ชุมชนบ้านมาบหวาย 3.วัดวังตะโก 4.ชุมชนบ้านชากพุดซา
 โดย บริษัท เอส.พี.เอส.คอนซัลติ้ง เซอร์วิส จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5830851
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]