การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. บุฮม
 อำเภอ เชียงคาน
 จังหวัด เลย
 เลขที่ประทานบัตร 27164/15740
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดินและน้ำผิวดิน ในปี พ.ศ. 2558
 รายละเอียด
 
  • ประจำเดือน เมษายน 2558

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน  4 สถานี

 1.  บริเวณต้นน้ำห้วยเก้าค้าง ไม่ได้ทำการตรวจวัด

 2.  บริเวณต้นน้ำห้วยบึงใหญ่ ไม่ได้ทำการตรวจวัด  

3.  บริเวณที่ผ่านพื้นที่โครงการ (หลังจากห้วยเก้าค้างและห้วยบึงใหญ่มาบรรจบกัน)

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.2 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 19.6 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 192 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 117 mg/l as CaCO (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 2.8 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.36 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 37 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท เท่ากับ <0.0003 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน )  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม เท่ากับ <0.003 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน )  

4. บริเวณท้ายน้ำก่อนถึงบ้านอุมุง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.1 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 14.8 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 204 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 96 mg/l as CaCO (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 3.1 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.22 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 34 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท เท่ากับ <0.0003 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน )  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม เท่ากับ <0.003 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ) 

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน  2 สถานี

1. บริเวณน้ำบ่อตื่นบ้านอุมุง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.1 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 4.8 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 531 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 247 mg/l as CaCO (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.32 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.22 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 174 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท เท่ากับ <0.0003 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน )  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม เท่ากับ <0.003 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ) 

2. น้ำบาดาลบ้านอุมุง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.1(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 4.3 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 476 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 222 mg/l as CaCO (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลม คือ ไม่มากกว่า 500 mg/l as CaCO3 )
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.47 NTU (เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.24 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 1.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 149 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 250 mg/l)  
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท เท่ากับ <0.0003  mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 0.05 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม เท่ากับ <0.003 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 0.5mg/l)

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12         (พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
        *มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณต้นน้ำห้วยเก้าค้าง 2.บริเวณต้นน้ำห้วยบึงใหญ่ 3.บริเวณที่ผ่านพื้นที่โครงการ (หลังจากห้วยเก้าค้างและห้วยบึงใหญ่มาบรรจบกัน) 4.บริเวณท้ายน้ำก่อนถึงบ้านอุมุง 5.บริเวณน้ำบ่อตื่นบ้านอุมุง 6.น้ำบาดาลบ้านอุมุง
 โดย บริษัท 365 ไมน์นิ่ง แอนด์ เอ็นไวรอนเม้นทอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแทนท์ จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5830672
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]