ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2559เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณห้วยสาธารณะที่อยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง (pH) เท่ากับ 7.6(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.7 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 74 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 2.78 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.62 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 2. บริเวณห้วยสาธารณะที่อยู่ทางด้านทิศเหนือ
ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง (pH) เท่ากับ 7.1(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.8 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 97 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 2.59 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.05 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 3. บริเวณห้วยแป้นบริเวณที่เชื่อมกับแม่น้ำวัง
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง (pH) เท่ากับ 8.4(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 1.5 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 6.2 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 2.36 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.05 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
หมายเหตุ : มาตรฐานประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 3 แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
(ก) เพื่อการอุปโภค บริโภค โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
(ข) การเกษตร