การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เทศบาลตำบลหน้าพระลาน
 อำเภอ เฉลิมพระเกียรติ
 จังหวัด สระบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 19989/15865
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินในปี พ.ศ. 2558
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 1-3ธันวาคม 2558 

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 2 สถานี

  1. บริเวณน้ำขุมเมือง 1 ตรวจวัดวันที่1ธ.ค.58

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.0 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.7 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ <1.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 614 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 307 mg/l as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate)เท่ากับ 269 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron)เท่ากับ 0.041 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู(Arsenic)เท่ากับ <0.001 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือไม่มากกว่า 0.01)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม(Cadmium)เท่ากับ <0.001 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือไม่มากกว่า 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead)เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือไม่มากกว่า 0.05)

  2. บริเวณน้ำขุมเหมือง 2

ไม่ได้ทำการตรวจวัดเนื่องจาก ไม่มีตัวอย่างน้ำ,น้ำแห้ง 

หมายเหตุ: *ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่8(พ.ศ.2537)ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 เรื่องกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน โดยมาตรฐานคุรภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 1-4

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน 2  สถานี

  1. บริเวณน้ำบาดาลบ้านคุ้งเขาเขียว ตรวจวัดวันที่3ธ.ค.58

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.5(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.5 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU )
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ <1.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 606 mg/l (เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600 mg/lแต่ไม่เกินเกณฑ์อนุโลมสูงสุด คือ1200)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 197 mg/l  as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ ไม่มากกว่า 300 mg/l  as CaCO3
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate)เท่ากับ 209 mg/l  (เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/llแต่ไม่เกินเกณฑ์อนุโลมสูงสุด คือ250)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron)เท่ากับ 0.108 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู(Arsenic)เท่ากับ <0.001 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือไม่มากกว่า 0.05 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม(Cadmium)เท่ากับ <0.001 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือไม่มากกว่า 0.01 mg/l) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead)เท่ากับ <0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือไม่มากกว่า 0.05 mg/l)

  2. บริเวณน้ำบาดาลบ้านสะพานขาว  ตรวจวัดวันที่2ธ.ค.58

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.6 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU )
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ<1.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 388 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 300 mg/l  as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ ไม่มากกว่า 300 mg/l  as CaCO3)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate)เท่ากับ 20 mg/l  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด(Total Iron)เท่ากับ 0.071 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู(Arsenic)เท่ากับ <0.001 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือไม่มากกว่า 0.05 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม(Cadmium)เท่ากับ <0.001 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือไม่มากกว่า 0.01 mg/l) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว(Lead)เท่ากับ 0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือไม่มากกว่า 0.05 mg/l)

หมายเหตุ: *ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพ.ศ.2551 เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

มาตรฐานคุณภาพ

น้ำบาดาล

เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม

เกณฑ์อนุโลมสูงสุด

ความเป็นกรด-ด่าง(pH)

7.0 - 8.5

 6.5 - 9.2

ปริมาณสารแขวนลอย

(Suspended Solids)

 ไม่ได้กำหนด

 ไม่ได้กำหนด

ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลาย

น้ำ(Total Dissolved Solids)

600 mg/l

1,200 mg/l  

ความกระด้างทั้งหมด

(Total Hardness)

 300 mg/l as CaCO3

500 mg/l as CaCO3

ค่าความขุ่น (Turbidity)

5 NTU

20 NTU

ปริมาณเหล็กทั้งหมด

(Total Iron)

0.5 mg/l

1.0 mg/l

ซัลเฟต (Sulfate)

 200 mg/l

 250 mg/l

                * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

                * มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12(พ.ศ. 2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ 

 สถานที่ตรวจวัด 1. บริเวณน้ำขุมเมือง1 2. บริเวณน้ำขุมเหมือง2 3.บริเวณน้ำบาดาลบ้านคุ้งเขาเขียว 4.บริเวณน้ำบาดาลบ้านสะพานขาว
 โดย บริษัททอพ-คลาส คอนซัลแทนท์ จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5826847
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]