บทบาทหน้าที่ และขั้นตอนการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน

     บทบาทหน้าที่ และขั้นตอนการสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่มีการทำเหมืองแร่ รวมทั้งการเเก้ไขปัญหา


รายละเอียดบทความ

     ในสถานการณ์ปัจจุบันแนวนโยบายของรัฐและธรรมนูญ
การปกครอง ตลอดจนกฎหมายต่างๆ ด้านสิ่งแวดล้อมและ
สวัสดิการสังคมกำหนดให้ประชาชนในท้องถิ่น ซึ่งเป็นผู้ที่อยู่
ใกล้ชิดและได้รับผลกระทบโดยตรงจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและโครงการพัฒนาที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต้องมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมด้วยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) จึงจัดให้มีการสร้างกระบวนการหรือช่องทางให้ภาคประชาชนที่ได้รับผลกระทบเข้ามามีส่วนร่วมหรือเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังและดูแลการใช้ทรัพยากรแร่และคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ ได้กำหนดเป้าหมายว่าจะจัดตั้งและขยายเครือข่ายภาคประชาชนให้ครอบคลุมในทุกตำบลที่มีประทานบัตรเหมืองแร่โดย กพร. ได้เริ่มจัดตั้งเครือข่ายภาคประชาชนตั้งแต่ปี พ.ศ.2550 เป็นต้นมา        1. คุณสมบัติของสมาชิกเครือข่าย
2. การคัดเลือก
3. บทบาทหน้าที่
4. จุดมุ่งหมายของเครือข่าย
5. วิธีดำเนินงานเครือข่าย
6. แนวทางการรายงาน
7. วิธีการรายงาน
8. การจัดส่งรายงาน
9. การจัดทำทะเบียนรายชื่อ
10. ขั้นตอนการดำเนินงานแก้ไขปัญหา                     (ดังเเผ่นพับในเอกสารแนบ)

 

วันที่ปรับปรุง:2554-05-24

เอกสารแนบ: เครือข่ายภาคประชาชน
 
 

Visitor Number
5238582
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]