การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในการทำเหมืองแร่


     ปัจจุบันกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่   ซึ่งเป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการและพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐานมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่   สำคัญคือ


รายละเอียดบทความ


     ปัจจุบันกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่   ซึ่งเป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการและพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐานมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่   สำคัญคือ

1. ดำเนินการอนุญาตและกำกับดูแลการประกอบกิจการอุตสาหกรรมแร่และโลหการตามกฎหมายว่าด้วยแร่ และกฎหมายว่าด้วยโรงงาน  (เฉพาะในส่วนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง)  และกฎหมายอื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้อง  รวมทั้งการจัดเก็บรายได้ของรัฐ
 2. เสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาในการกำหนดนโยบายบริหารและการ     จัดการอุตสาหกรรมแร่  โลหการ และอุตสาหกรรมพื้นฐานที่รับผิดชอบให้สอดรับกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
3. ศึกษา  วิเคราะห์  วิจัย  เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมแร่  โลหการ  และอุตสาหกรรม   พื้นฐาน     รวมทั้งสนับสนุนและให้บริการทางวิชาการ
4. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่กฏหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

 

วันที่ปรับปรุง:2554-10-10

เอกสารแนบ: บทความการบริหารจัดการสวล
 
 

Visitor Number
5724364
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]