ไซยาไนด์ ในขุมเหมือง ภัยร้ายจริงหรือ

     หากกล่าวถึงเหมืองแร่ทองคำ หลาย ๆ คนคงนึกไกลไปถึง “ไซยาไนด์” ที่ทุกคนต่างรู้ว่าเป็นสารอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย์และสัตว์ แต่มีการนำมาใช้ในการทำเหมืองแร่ทองคำ และมีการตรวจพบว่ามีสารไซยาไนด์ปนเปื้อน


รายละเอียดบทความ

     หากกล่าวถึงเหมืองแร่ทองคำ หลาย ๆ คนคงนึกไกลไปถึง “ไซยาไนด์” ที่ทุกคนต่างรู้ว่าเป็นสารอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย์และสัตว์ แต่มีการนำมาใช้ในการทำเหมืองแร่ทองคำ และมีการตรวจพบว่ามีสารไซยาไนด์ปนเปื้อนในน้ำและดินบริเวณโดยรอบพื้นที่ที่มีการทำเหมือง วันนี้จึงขอนำข้อมูลเกี่ยวกับไซยาไนด์กับการทำเหมืองแร่ทองคำมานำเสนอ เพื่อสร้างให้เกิดการเรียนรู้และความเข้าใจในอีกแง่มุมหนึ่ง

     ตัวตนของไซยาไนด์
     ไซยาไนด์ (Cyanide) เป็นสารประกอบทางเคมีที่มีคาร์บอนและไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ (CN-) สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งตามธรรมชาติและการสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ โดยไซยาไนด์ที่พบในธรรมชาติ เช่น มันสาปะหลัง ข้าวฟ่าง เชอรี่ป่า ถั่วแขก อัลมอนด์ หน่อไม้ กาแฟ และควันบุหรี่ เป็นต้น สาหรับไซยาไนด์ที่เกิดจากการสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ผลิตขึ้นเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เคมีภัณฑ์ โลหการ และเภสัชกรรม เป็นต้น
 (รายละเอียดดังเอกสารเเนบ)

 

วันที่ปรับปรุง:2558-01-14

เอกสารแนบ: Cyanide ไซยาไนต์
 
 

Visitor Number
5771886
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]