เมื่อเดือนมีนาคม และมิถุนายน 2559
เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 2 สถานี
เมื่อเดือนมีนาคม และมิถุนายน 2560
เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 2 สถานี
- บริเวณศาลเจ้าไท้จื้อ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง เท่ากับ 0.762 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 27 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00412 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.635มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ37 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000298 มิลลิเมตร และในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.1.27 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 28 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00704 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) ค่าความเร็วอนุภาคเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทาง คือ 1.29 มิลลิเมตร/วินาที แรงอัดอากาศ เท่ากับ 121.6 dB(L)
- บริเวณบ้านเลขที่ 179/1 ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง เท่ากับ 1.27 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 18 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.01060มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 1.65 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ23 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.01290 มิลลิเมตร และในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 2.03 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 17 เฮิตร์ซ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.01720 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) ค่าความเร็วอนุภาคเฉลี่ยทั้ง 3 ทิศทาง คือ 2.41 มิลลิเมตร/วินาที แรงอัดอากาศ เท่ากับ 120.0 dB(L)
เริ่มทำการบันทึกค่าระดับความสั่นสะเทือน เมื่อความเร็วอนุภาคสูงสุด (Peak Particle Velocity, PPV)มิลลิเมตรต่อวินาทีขึ้นไป