เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1.บริเวณห้วยอ่าง
- ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.35 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลจากการตรวจวัดสารละลายทั้งหมดพบว่ามีค่าเท่ากับ 270 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดสารแขวนลอยเท่ากับ 5.60 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมดพบว่ามีค่าเท่ากับ 218.46 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมดเท่ากับ <0.20 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณก่อนผ่านจุดเชื่อมระหว่างห้วยอ่างกับน้ำแม่ต๋า 500 ม.
- ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.40 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลจากการตรวจวัดสารละลายทั้งหมดพบว่ามีค่าเท่ากับ 164 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดสารแขวนลอยเท่ากับ 9.80 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมดพบว่ามีค่าเท่ากับ 126.10 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมดเท่ากับ <0.20 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
3. บริเวณหลังผ่านจุดเชื่อมระหว่างห้วยอ่างกับน้ำแม่ต๋า 500 ม.
- ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH ) เท่ากับ 7.30 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
- ผลจากการตรวจวัดสารละลายทั้งหมดพบว่ามีค่าเท่ากับ 150.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดสารแขวนลอยเท่ากับ 5.20 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมดพบว่ามีค่าเท่ากับ <0.2 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมดเท่ากับ 130.32 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
หมายเหตุ: *มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมตามน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 3
แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
(ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
(ข) การเกษตร