การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. วังด้ง
 อำเภอ เมือง
 จังหวัด กาญจนบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 28470/15572
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ.2548-2549
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 10 มีนาคม 2548

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพใต้ดิน  จำนวน 2 สถานี

 1. บ่อบาดาลของโครงการ

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH ) เท่ากับ 7.62 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 1.02 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดสารที่ละลายได้ทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 572 มิลลิกรัมต่อลิตร(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ <0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าปริมาณสารทั้งหมด(Total Solids) เท่ากับ 610.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้าง(Total Hardness) เท่ากับ 544.78 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (เกินกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Total Iron) เท่ากับ 0.172 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)

 2. สระน้ำสาธารณะ

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH ) เท่ากับ 8.24 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 3.40 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดสารที่ละลายได้ทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 168.0 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 6.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าปริมาณสารทั้งหมด(Total Solids) เท่ากับ 180.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้าง(Total Hardness) เท่ากับ 139.94 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Total Iron) เท่ากับ 1.459 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)

 

  • ในวันที่ 15 กันยายน 2548

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน 2 สถานี

 1. บ่อบาดาลของโครงการ

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH ) เท่ากับ 6.84 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 2.2 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดสารที่ละลายได้ทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 582.0 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)    
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ <0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าปริมาณสารทั้งหมด(Total Solids) เท่ากับ 640.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้าง(Total Hardness) เท่ากับ 433.13 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Total Iron) เท่ากับ 0.120 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)

 2. สระน้ำสาธารณะ

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 8.16 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 109.0 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดสารที่ละลายได้ทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 154.0 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 34.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าปริมาณสารทั้งหมด(Total Solids) เท่ากับ 180.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้าง(Total Hardness) เท่ากับ 99.80 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Total Iron) เท่ากับ 1.71 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  


 

  • ในวันที่ 10 มีนาคม 2549

เรื่องผลการตรวจววัดคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน 2 สถานี

 1. บ่อบาดาลของโครงการ

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH ) เท่ากับ 7.10 (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 2.6 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตราฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดสารที่ละลายได้ทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 610.0 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)    
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ <0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าปริมาณสารทั้งหมด(Total Solids) เท่ากับ 616.0 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้าง(Total Hardness) เท่ากับ 521.38 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (เกินเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Total Iron) เท่ากับ 0.397 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน)

 2. สระน้ำสาธารณะ

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.93 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 30.0 NTU  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)     
  • ผลจากการตรวจวัดสารที่ละลายได้ทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 154.0 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 22.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตราฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าปริมาณสารทั้งหมด(Total Solids) เท่ากับ 174.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดความกระด้าง(Total Hardness) เท่ากับ 109.45 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)       
  • ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Total Iron) เท่ากับ 0.055 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

  

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12         (พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

มาตรฐานคุณภาพ

น้ำบาดาล

เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม

เกณฑ์อนุโลมสูงสุด

ความเป็นกรด-ด่าง(pH)

7.0 - 8.5

 6.5 - 9.2

ปริมาณสารแขวนลอย

(Suspended Solids)

 ไม่ได้กำหนด

 ไม่ได้กำหนด

ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลาย

น้ำ(Total Dissolved Solids)

600 mg/l

1,200 mg/l  

ความกระด้างทั้งหมด

(Total Hardness)

 300 mg/l as CaCO3

500 mg/l as CaCO3

ค่าความขุ่น (Turbidity)

5 NTU

20 NTU

ปริมาณเหล็กทั้งหมด

(Total Iron)

0.5 mg/l

1.0 mg/l

ซัลเฟต (Sulfate)

 200 mg/l

 250 mg/l

     

 

 สถานที่ตรวจวัด 1.บ่อบาดาลของโครงการ 2.สระน้ำสาธารณะ
 โดย บริษัท เอ็นไวรอนเมนท์ รีเสริช แอนด์ เทคโนโลยี จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5719333
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]