การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. นาบัว
 อำเภอ เมือง
 จังหวัด สุรินทร์
 เลขที่ประทานบัตร 31080/15562
 ลำดับที่ 2
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน ในเดือนตุลาคม 2550
 รายละเอียด
 

เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 1 สถานี

1. บริเวณจุดตรวจวัดห้วยไม่มีชื่อ  ทางด้านทิศตะวันออกของพื้นที่โครงการ

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.25 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 2.3 NTU  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย(Total Suspended Solids) เท่ากับ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids)เท่ากับ 119 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้าง(Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร  as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 4 สถานี

1. บริเวณจุดตรวจวัดน้ำบาดาลบ้านตะแบก 

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.23 (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม 7.0-8.5)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.02 NTU  (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม 5 NTU)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย(Total Suspended Solids) เท่ากับ น้อยกว่า 2  มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids)เท่ากับ 784 มิลลิกรัมต่อลิตร  (เกณฑ์มาตรฐานกำหนด ไม่มากกว่า  600 mg/L ) แต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุดคือ 1,200  mg/L

·       ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 549 mg/L(เกณฑ์มาตรฐานกำหนด   ไม่มากกว่า  200 mg/L )และเกินเกณฑ์อนุโลมสูงสุดคือ 250  mg/L

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้าง(Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 17 mg/L as CaCO3 (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม  ไม่มากกว่า 300 mg/L as CaCO3)

·       ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Total Iron) มีค่าน้อยกว่า 0.08 mg/L(อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ไม่มากกว่า 0.50 mg/L)

2. บริเวณจุดตรวจวัดน้ำบาดาลบ้านโคกหิน

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.88 (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม 7.0-8.5)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.02 NTU  (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม 5 NTU)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย(Total Suspended Solids) เท่ากับ น้อยกว่า 2  มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids)เท่ากับ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร  (เกณฑ์มาตรฐานกำหนดไม่มากกว่า 600 mg/L )

·       ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 82 mg/L(อยู่เกณฑ์มาตรฐานกำหนดไม่มากกว่า 200 mg/L )

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้าง(Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 11 mg/L as CaCO3 (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมไม่มากกว่า 300 mg/L as CaCO3)

·       ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Total Iron) มีค่าน้อยกว่า 0.08 mg/L(อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมไม่มากกว่า 0.50 mg/L)

3. บริเวณจุดตรวจวัดน้ำบาดาลโคกกรวด

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.92 (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม 7.0-8.5)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.07 NTU  (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม 5 NTU)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย(Total Suspended Solids) เท่ากับ น้อยกว่า 2  มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids)เท่ากับ 428 มิลลิกรัมต่อลิตร  (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนดไม่มากกว่า 600 mg/L )

·       ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 225 mg/L(เกณฑ์มาตรฐานกำหนดไม่มากว่า 200 mg/L ) แต่อยู่ในเกณฑ์อนุโลมสูงสุด 250 mg/L

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้าง(Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 22 mg/L as CaCO3 (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมไม่มากกว่า   300 mg/L as CaCO3)

·       ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Total Iron) มีค่าน้อยกว่า 0.08 mg/L(อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมไม่มากกว่า 0.50 mg/L)

4. บริเวณจุดตรวจวัดน้ำบาดาลบ้านพนม

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.89 (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม 7.0-8.5)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.33 NTU  (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม 5 NTU)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย(Total Suspended Solids) เท่ากับ 3  มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·       ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids)เท่ากับ 285 มิลลิกรัมต่อลิตร  (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนดไม่มากเกิน  600 mg/L )

·       ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 175 mg/L(อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนดไม่มากเกิน 200 mg/L )

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้าง(Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 2 mg/L as CaCO3 (อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมไม่มากเกิน 300 mg/L as CaCO3)

·       ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Total Iron) มีค่าน้อยกว่า 0.14 mg/L(อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมไม่มากเกิน 0.50 mg/L)

        ดังนั้นหากจะใช้น้ำบาดาลบ้านตะแบกและบ้านโคกกรวดเพื่อการบริโภคควรทำการปรับปรุง คุณภาพน้ำก่อนแต่อย่างไรก็ตามการใช้น้ำของชุมชนทั้ง4หมู่บ้านดังกล่าวใช้น้ำบาดาลเพื่อการอุปโภคอย่างเดียวเท่านั้น

 

หมายเหตุ  * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ  ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 2 ? 4

                    * มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12(พ.ศ. 2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์ และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

 

 สถานที่ตรวจวัด 1. น้ำผิวดินบริเวณห้วยไม่มีชื่อ 2.บริเวณน้ำบาดาลบ้านตะแบก 3.บริเวณน้ำบาดาลบ้านโคกหิน 4.บริเวณน้ำบาดาลบ้านโคกกรวด 5.บริเวณน้ำบาดาลบ้านพนม
 โดย บริษัท เอส.พี.เอส. คอนซัลติ้ง เซอร์วิส จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ a-t1209369160.jpg
 
 

Visitor Number
5744767
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]