การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. ทุ่งใหญ่
 อำเภอ ทุ่งใหญ่
 จังหวัด นครศรีธรรมราช
 เลขที่ประทานบัตร 26213/15782
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ.2551
 รายละเอียด
 
  • ในเดือน ตุลาคม 2551

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 3 สถานี

 1. บริเวณคลองปริก

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.47 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 5.2 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.20 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน )
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 1,500 mg/l as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน )
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 1,428.25 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 2. บริเวณแม่น้ำตาปี

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.31 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 12.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.41 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน )
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 36 mg/l as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ 0.33 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน )
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 22.23 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 3. บริเวณบ่อรองรับน้ำของโครงการ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.75 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 6.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.30 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน )
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 1,505 mg/l as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน )
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 1,448.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน 3 สถานี

 1. น้ำบาดาลบ้านขนาน

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 6.58 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ 6.5-9.2)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 4.8 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.20 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 5 NTU )
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 338 mg/l as CaCO3  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 500 mg/l as CaCO3  )
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l )
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 305.41 mg/l (ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 250 mg/l)

 2. น้ำบาดาลบ้านโคกออก

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.30 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 1.6 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 1.50 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 5 NTU )
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 312 mg/l as CaCO3  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 500 mg/l as CaCO3  )
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l )
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 129.24 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)

 3. บ่อน้ำตื้นบ้านลุ่ม

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.01 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอย(Suspended Solids) เท่ากับ 1.2 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวรจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 0.40 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 5 NTU )
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างรวม(Total Hardness) เท่ากับ 248 mg/l as CaCO3  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 300 mg/l as CaCO3  )
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก(Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l )
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 98.78 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)

 

 

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภค ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12          (พ.ศ.2542) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ และมาตรฐานในทางวิชาการสำหรับการป้องกันสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ  

                 *มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดิน(ประเภทที่ 3) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537)

                 แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
                   (ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
                   (ข) การเกษตร

 สถานที่ตรวจวัด 1.คลองปริก 2.แม่น้ำตาปี 3.บ่อรองรับน้ำของโครงการ 4.น้ำบาดาลบ้านขนาน 5.น้ำบาดาลบ้านโคกออก 6.บ่อน้ำตื้นบ้านลุ่ม
 โดย ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5728018
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]