การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. ปากชม
 อำเภอ ปากชม
 จังหวัด เลย
 เลขที่ประทานบัตร 27177/15721
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน เมื่อวันที่ 4-5 ตุลาคม 2550
 รายละเอียด
 

เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 5 สถานี 

 

1. บริเวณจุดตรวจวัดน้ำห้วยโหง

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.83 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 30 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total  Solids) เท่ากับ 250 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 3 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Manganese เท่ากับ 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 161 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Copper เท่ากับ 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัด Lead น้อยกว่า 0.04 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัด Silver น้อยกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Arsenic เท่ากับ 0.0015 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่า เท่ากับ 2.1 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

2.บริเวณจุดตรวจวัดน้ำขุมเหมืองเก่า

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.70 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 1.8 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total  Solids) เท่ากับ 196 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 30 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Manganese เท่ากับ 0.11 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 122 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Copper น้อยกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัด Lead น้อยกว่า 0.04 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัด Silver น้อยกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Arsenic น้อยกว่า 0.00015 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่า เท่ากับ 0.11 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

3.บริเวณจุดตรวจวัดน้ำบ่อพักโรงแต่งแร่

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 8.75 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 62 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total  Solids) เท่ากับ 126 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 3 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Manganese เท่ากับ 0.15 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 15 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Copper เท่ากับ 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัด Lead เท่ากับ 0.04 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัด Silver น้อยกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Arsenic น้อยกว่า 0.00015 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่า เท่ากับ 1.1 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

4.บริเวณจุดตรวจวัดแม่น้ำเลยช่วงก่อนผ่านโรงแต่งแร่

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.56 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 58 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total  Solids) เท่ากับ 218 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 18 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Manganese เท่ากับ 0.35 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 99 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Copper เท่ากับ 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัด Lead น้อยกว่า 0.04 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัด Silver น้อยกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Arsenic น้อยกว่า 0.00015 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่า เท่ากับ 1.6 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

5. บริเวณจุดตรวจวัดแม่น้ำเลยช่วงหลังผ่านโรงแต่แร่

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.64 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 73 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total  Solids) เท่ากับ 218 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัดซัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 20 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Manganese เท่ากับ 0.26 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 106 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Copper เท่ากับ 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัด Lead น้อยกว่า 0.04 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัด Silver น้อยกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

·        ผลจากการตรวจวัด Arsenic เท่ากับ 0.0008 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่เกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

·        ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่า เท่ากับ 2.2 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

         สรุปได้ว่า ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 5 สถานี คือ น้ำห้วยโหง น้ำขุนเหมืองเก่า น้ำบ่อพักโรงแต่งแร่ แม่น้ำเลยช่วงก่อนผ่านโรงแต่งแร่ และแม่น้ำเลยช่วงหลังผ่านโรงแต่แร่ พบว่า ค่า pH, Manganese, Copper, Lead และ Arsenic อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 3   

 

หมายเหตุ: * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

 สถานที่ตรวจวัด 1. บริเวณน้ำห้วยโหง 2.บริเวณน้ำขุมเหมืองเก่า 3.บริเวณน้ำบ่อพักโรงแต่งแร่ 4.บริเวณแม่น้ำเลยช่วงก่อนผ่านโรงแต่งแร่ 5.บริเวณแม่น้ำเลยช่วงหลังผ่านโรงแต่แร่
 โดย บริษัท เอส.พี.เอส. คอนซัลติ้ง เซอร์วิส จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5283307
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]