เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 1 สถานี
1. บริเวณจุดตรวจวัดน้ำผิวดินห้วยพะเนียง
· ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH )เท่ากับ 7.84 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0)
· ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 10.9 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
· ผลจากการตรวจวัดค่าสารทั้งหมดที่ละลายน้ำ (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 150.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
· ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
· ผลจากการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) มีค่าเท่ากับ 0.347 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
· ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต (Sulfate) มีค่าเท่ากับ 2.300 มิลลิกรัมต่อลิตร(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
· ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 127.04 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
สรุปได้ว่า คุณภาพน้ำผิวดินห้วยพะเนียง มีดัชนีที่ตรวจพบเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานมีค่าอยู่ในมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 3 แต่หากจะนำน้ำมาใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคจะต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 4 สถานี
2. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณประปาบ้านโนนถาวร ดังนี้
คุณภาพน้ำบาดาล |
ผลการตรวจวัด |
เกณฑ์อนุโลมสูงสุด |
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) |
6.94 |
6.5 - 9.2 |
ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) |
<0.1 |
ไม่ได้กำหนด |
ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids) |
908.0 มิลลิกรัมต่อลิตร |
1,200 มิลลิกรัมต่อลิตร |
ความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) |
667.97 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 |
500 มิลลิกรัมต่อลิตร
as CaCO3 |
ค่าความขุ่น (Turbidity) |
3.9 NTU |
20 NTU |
ปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) |
0.059 มิลลิกรัมต่อลิตร |
1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร |
ซัลเฟต (Sulfate) |
11.031 มิลลิกรัมต่อลิตร |
250 มิลลิกรัมต่อลิตร |
สรุปไดว่า คุณภาพน้ำบาดาลบริเวณประปาบ้านโนนถาวร ดัชนีที่ตรวจพบส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนด ยกเว้นค่าความกระด้างที่มีค่าสูงเกินเกณฑ์มาตรฐานกำหนด
3. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณบ้านผาเจาะ ดังนี้
คุณภาพน้ำบาดาล |
ผลการตรวจวัด |
เกณฑ์อนุโลมสูงสุด |
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) |
7.26 |
6.5 - 9.2 |
ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) |
<0.1 |
ไม่ได้กำหนด |
ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids) |
806.0 มิลลิกรัมต่อลิตร |
1,200 มิลลิกรัมต่อลิตร |
ความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) |
663.88 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 |
500 มิลลิกรัมต่อลิตร
as CaCO3 |
ค่าความขุ่น (Turbidity) |
14.7 NTU |
20 NTU |
ปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) |
1.110 มิลลิกรัมต่อลิตร |
1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร |
ซัลเฟต (Sulfate) |
11.743 มิลลิกรัมต่อลิตร |
250 มิลลิกรัมต่อลิตร |
สรุปไดว่า คุณภาพน้ำบาดาลบริเวณบ้านผาเจาะ ดัชนีที่ตรวจพบส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนด ยกเว้น เหล็ก และค่าความกระด้างที่มีค่าสูงเกินเกณฑ์มาตรฐานกำหนด
4. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณประปาบาดาลของโรงโม่ ดังนี้
คุณภาพน้ำบาดาล |
ผลการตรวจวัด |
เกณฑ์อนุโลมสูงสุด |
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) |
7.16 |
6.5 - 9.2 |
ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) |
2.0 |
ไม่ได้กำหนด |
ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids) |
906.0 มิลลิกรัมต่อลิตร |
1,200 มิลลิกรัมต่อลิตร |
ความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) |
719.20 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 |
500 มิลลิกรัมต่อลิตร
as CaCO3 |
ค่าความขุ่น (Turbidity) |
3.5 NTU |
20 NTU |
ปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) |
0.187 มิลลิกรัมต่อลิตร |
1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร |
ซัลเฟต (Sulfate) |
12.873 มิลลิกรัมต่อลิตร |
250 มิลลิกรัมต่อลิตร |
สรุปไดว่า คุณภาพน้ำบาดาลบริเวณประปาบาดาลของโรงโม่ ดัชนีที่ตรวจพบส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนด ยกเว้น ค่าความกระด้างที่มีค่าสูงเกินเกณฑ์มาตรฐานกำหนด
5. ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบาดาลบริเวณน้ำบ่อตื้นบ้านวังโปร่ง ดังนี้
คุณภาพน้ำบาดาล |
ผลการตรวจวัด |
เกณฑ์อนุโลมสูงสุด |
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) |
7.24 |
6.5 - 9.2 |
ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) |
2.0 |
ไม่ได้กำหนด |
ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids) |
254.0 มิลลิกรัมต่อลิตร |
1,200 มิลลิกรัมต่อลิตร |
ความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) |
260.22 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 |
500 มิลลิกรัมต่อลิตร
as CaCO3 |
ค่าความขุ่น (Turbidity) |
5.1 NTU |
20 NTU |
ปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) |
0.397 มิลลิกรัมต่อลิตร |
1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร |
ซัลเฟต (Sulfate) |
2.977 มิลลิกรัมต่อลิตร |
250 มิลลิกรัมต่อลิตร |
สรุปไดว่า คุณภาพบริเวณน้ำบ่อตื้นบ้านวังโปร่ง ทุกดัชนีที่ตรวจพบมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนด
หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12(พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาล |
เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม |
เกณฑ์อนุโลมสูงสุด |
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) |
7.0 - 8.5 |
6.5 - 9.2 |
ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) |
ไม่ได้กำหนด |
ไม่ได้กำหนด |
ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายน้ำ(Total Dissolved Solids) |
600 มิลลิกรัมต่อลิตร |
1,200 มิลลิกรัมต่อลิตร |
ความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) |
300 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 |
500 มิลลิกรัมต่อลิตร
as CaCO3 |
ค่าความขุ่น (Turbidity) |
5 NTU |
20 NTU |
ปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) |
0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร |
1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร |
ซัลเฟต (Sulfate) |
200 มิลลิกรัมต่อลิตร |
250 มิลลิกรัมต่อลิตร |
* มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12(พ.ศ. 2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
* มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3